ปุลฺลิงฺคราสิ
อการนฺต
ปุลฺลิงฺคปุริสาทิราสิ
กลุ่มนามศัพท์ปุงลิงค์
กลุ่มนามศัพท์มี
ปุริสศัพท์เป็นต้น อันเป็น ปุงลิงค์ อการันต์
อถ
ปุลฺลิงฺคานิ ทีปิยนฺเตฯ
สตฺตวิธํ
ปุลฺลิงฺคํ –
อทนฺตํ, อาทนฺตํ, อิทนฺตํ,
อีทนฺตํ, อุทนฺตํ, อูทนฺตํ,
โอทนฺตํฯ
ต่อจากอิตถีลิงค์
ข้าพเจ้าจะแสดงนามศัพท์ทั้งหลายอันเป็นปุงลิงค์.
ปุงลิงค์มี ๗
แบบ คือ มี อเป็นที่สุด, มี อา เป็นที่สุด, มี อิ เป็นที่สุด, มี อี เป็นที่สุด,
มี อุ เป็นที่สุด, มี อู เป็นที่สุด และมี โอ เป็นที่สุด.
(อการันต์)
สิ ที่อยู่หลัง
อการันต์ในปุงลิงค์ จะกลายเป็น โอ.
อโต
สิสฺส โอ โหติ ปุเมฯ
ปุริโส
ติฏฺฐติฯ
โอ
เป็นอาเทสของสิ ที่อยู่ท้ายอการันต์ในปุงลิงค์.
ปฐมาวิภัตติ
ปุริโส
ติฏฺฐติ
บุรุษ ยืนอยู่.
ท้ายอการันต์ อา
และ เอ เป็นอาเทสของ โยท้้งหลาย
อโต
ปฐมาโยนํ ทุติยาโยนญฺจ กเมน ฏา, เฏ โหนฺติ ปุํ, นปุํสเกสุฯ ฏานุพนฺโธ สพฺพาเทสตฺโถฯ
ปุริสา
ติฏฺฐนฺติฯ
ในปุงลิงค์และนปุงสกลิงค์
อา และ เอ เป็นอาเทสของโยปฐมาวิภัตติ และ ของโยทุติยาวิภัตติ ตามลำดับ.
ศัพท์ที่มีฎเป็นอนุพันธ์ สื่อความหมายว่า ต้องอาเทศหมดทั้งตัว.
ปุริสา
ติฏฺฐนฺติ
บุรุษท. ยืนอยู่.
อาลปนะ
คสีน’นฺติ
สิโลโป, โภ ปุริส, ‘อยุนํ วา ทีโฆ’ติ ทีโฆ, โภ ปุริสา, โภนฺโต
ปุริสา, ปุริสํ, ปุริเสฯ
ลบ สิ อาลปนะ
ด้วยสูตร “คสีนํ” (สำเร็จรูปเป็น ปุริส)
โภ
ปุริส
ดูก่อนบุรุษ
บางรูป
มีการทีฆะ ด้วยสูตร “อยุนํ วา ทีโฆ (๙๓) =
เพราะ สิ ชื่อ ค ข้างหลัง อ อิ อุ ถึงความเป็นทีฆะได้บ้าง” สำเร็จรูปเป็น ปุริสา
โภ
ปุริสา
ดูก่อนบุรุษ
โภ
ปุริสา,
โภนฺโต ปุริสา ดูก่อนบุรุษท.
ทุติยาวิภัตติ
ปุริสํ
ซึ่งบุรุษ,
ปุริสา
ซึ่งบุรุษท.
ตติยาวิภัตติ
เอน เป็นอาเทส
ของนา ที่อยู่ท้ายนามศัพท์ อการันต์
อโต
นาวจนสฺส เอนาเทโส โหติ ปุํ, นปุํสเกสุฯ ปุริเสนฯ
เอน
เป็นอาเทศของนา ที่อยู่ท้ายนามศัพท์ อการันต์ ในปุงลิงค์และนปุงสกลิงค์ สำเร็จรูปเป็น
ปุริเสน
ด้วยบุรุษ
เพราะ สุ หิ
ข้างหลัง เอ เป็น อาเทสของ อ.
สุ, หิสุ ปเรสุ อสฺส เอ โหติ ปุํ, นปุํสเกสุฯ ปุริเสหิ,
ปุริเสภิฯ
เพราะ สุ และหิอยู่ข้างหลัง
เอ เป็นอาเทสของ อ ในปุงลิงค์และนปุงสกลิงค์. สำเร็จรูปเป็น
ปุริเสหิ,
ปุริเสภิ
ด้วยบุรุษท.
จตุตถีวิภัตติ
ส เป็นอาคม หน้า
สวิภัตติ.
สสฺส
อาทิมฺหิ สาคโม โหติฯ อุกาโร อุจฺจารณตฺโถ, ญานุพนฺโธ อาทิมฺหีติ
ทีปนตฺโถฯ ปุริสสฺส, ‘สุนํหิสู’ติ
ทีโฆฯ ปุริสานํ, ปุริสสฺมา, ปุริสมฺหาฯ
ส เป็นอาคม
ในเบื้องหน้าแห่งสวิภัตติ. อุอักษร เพิ่มเข้ามาให้ออกเสียงได้ง่าย.
ญอนุพันธ์แสดงความหมายว่า การิยะมีผลในเบื้องต้น. สำเร็จรูปเป็น ปุริสสฺส แก่บุรุษ.
(พหุวจนะ) มีการทีฆะด้วยสูตร สุนํหิสุ สำเร็จรูปเป็น
ปุริสานํ แก่บุรุษท.
ปัญจมีวิภัตติ
ปุุริสสฺมา,
ปุริสมฺหา จากบุรุษ
อา และ เอ
เป็นอาเทสของสฺมาและสฺมิํ
อโต
สฺมา,
สฺมิํนํ กเมน ฏา, เฏ โหนฺติ ปุํ, นปุํสเกสุฯ
ปุริสา, ปุริเสหิ, ปุริเสภิ, ปุริสสฺส,
ปุริสานํ, ปุริสสฺมิํ, ปุริสมฺหิ,
ปุริเส, ปุริเสสุฯ
ท้ายอการันต์
ในปุงลิงค์และนปุงสกลิงค์ อา และ เอ เป็นอาเทสของ สฺมา และ สฺมิํ
ปุริสา
จากบุรุษ
ปุริเสหิ,
ปุริเสภิ
จากบุรุษท.
ฉัฏฐีวิภัตติ
ปุริสสฺส
แห่งบุรุษ
ปุริสานํ
แห่งบุรุษท.
สัตตมีวิภัตติ
ปุริสสฺสมิํ,
ปุริสมฺหิ,
ปุริเส ในบุรุษ
ปุริเสสุ
ในบุรุษท.
เอวํ
พุทฺโธ,
ธมฺโม, สงฺโฆ, สกฺโก,
เทโว, สตฺโต, นโร,
โคโณ, ปุงฺคโว, ชรคฺคโว,
สคโว, ปรคโว,ราชคโว,
มาตุคาโม, โอโรโธ, ทาโรอิจฺจาทิฯ
ศัพท์ที่แจกเหมือนกับปุริสศัพท์
เช่น
พุทฺโธ = พระพุทธเจ้า
ธมฺโม = พระธรรม
สงฺโฆ = พระสงฆ์
สกฺโก = ท้าวสักกะ
เทโว = ฝน
สตฺโต = สัตว์
นโร = ชน
โคโณ = โค
ปุงฺคโว = โคจ่าฝูง
ชรคฺคโว = วัวแก่
สคโว = วัวของตน
ปรคโว = วัวของคนอื่น
ราชคโว = พญาวัว
มาตุคาโม = สตรี
โอโรโธ = ดาวฤกษ์
ทาโร = เมีย
[สรุป
ปุริสสทฺทปทมาลา]
ปุริโส
– ปุริสา
โภ
ปุริส, โภ ปุริสา – โภนฺโต ปุริสา
ปุริสํ
– ปุริเส
ปุริเสน
– ปุริเสหิ, ปุริเสภิ
ปุริสสฺส
– ปุริสานํ
ปุริสสฺมา,
ปุริสมฺหา, ปุริสา – ปุริเสหิ, ปุริเสภิ
ปุริสสฺส – ปุริสานํ
ปุริสสฺมิํ,
ปุริสมฺหิ, ปุริเส – ปุริเสสุ.
****************
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น