วิเสสวิธานมุจฺจเตฯ
ต่อไปนี้จะกล่าวถึงแบบพิเศษ
เพราะสิ อุ ที่สุดของนฺตุปัจจัยแห่งหิมวนฺตุ เป็น โอ ได้บ้าง
สิมฺหิ
หิมวนฺตสทฺทสฺส โอ โหติ วาฯ ‘คสีน’นฺติ โลโปฯ หิมวนฺโต ปพฺพโตว [ธ.ป. ๓๐๔],หิมวา ปพฺพโต.
ในเพราะสิวิภัตติ
แปลง อุที่สุดของนฺตุ ปัจจัย แห่ง หิมวนฺตุ เป็น โอ ได้บ้าง. ลบ สิ ด้วยสูตร คสีนํ
โลโป (ลบ สิชื่อค และสิอื่นๆ ได้บ้าง)
หิมวนฺโต
ปพฺพโตว
[ธ. ป. ๓๐๔],
หิมวา ปพฺพโตฯ
เพียงดังภูเขาหิมพานต์[1]
๑๒๖. นฺตสฺส จ ฏ วํเส [ก. ๙๓; รู.
๑๐๖; นี. ๒๕๑]ฯ
เพราะอํและส
แปลง นฺต และ นฺตุ ทั้งศัพท์เป็น อ ได้บ้าง.
อํ, เสสุ นฺตสฺส จ นฺตุสฺส จ สพฺพสฺส ฏ โหติ วาฯ ‘‘อชฺโฌคาเหตฺวา
หิมว’’นฺติ [อป. เถร ๒.๔๗.๕๙] ปาฬิ. สติมํ, พนฺธุมํ, คุณวสฺส, สติมสฺส, พนฺธุมสฺสฯ
เพราะอํและ ส
แปลง นฺต และ นฺตุ ทั้งศัพท์เป็น อ ได้บ้าง ดังพระบาฬีว่า
(อํ)
อชฺโฌคาเหตฺวา
หิมวํ
[อป. เถร ๒.๔๗.๕๙] ครอบคลุมแล้วซึ่งภูเขาหิมพานต์
สติมํ ซึ่งท่านผู้มีสติ
พนฺธุมํ ซึ่งท่านผู้มีพวกพ้อง,
(ส)
คุณวสฺส
แก่
(แห่ง) ท่านผู้มีคุณ
สติมสฺส แก่
(แห่ง) ท่านผู้มีสติ
พนฺธุมสฺส แก่
(แห่ง) ท่านผู้มีพวกพ้อง
มหาวุตฺตินา
กฺวจิ สิมฺหิ เค จ ปเร นฺตุสฺส อตฺตํ โหติ, ‘‘อตุโล นาม
นาเมน, ปญฺญวนฺโต ชุตินฺธโร’’ติ [พุ. วํ. ๒๑.๑๐] จ
‘‘คติมนฺโต สติมนฺโต, ธิติมนฺโต จ โย อิสี’’ติ [เถรคา. ๑๐๕๒] จ ‘‘จกฺขุมนฺโต
มหายโส’’ติ จ ‘‘ตุยฺหํ ปิตา มหาวีร,
ปญฺญวนฺต ชุตินฺธรา’’ติ [อป. เถรี ๒.๒.๓๘๙] จ ปาฬีฯ
ด้วยมหาสูตร
ในบางแห่ง แปลง นฺตุ เป็น อ เพราะ สิ ปฐมา (ลิงคัตถะ) และ สิ ชื่อ ค
อันเป็นเบื้องหลัง
มีพระบาฬีเหล่านี้เป็นหลักฐาน
อตุโล นาม
นาเมน,
ปญฺญวนฺโต ชุตินฺธโร [พุ. วํ. ๒๑.๑๐]
เรามีชื่อว่า
อตุละ โดยชื่อ, เป็นผู้มีปัญญา ทรงความรุ่งเรืองไว้.
คติมนฺโต
สติมนฺโต,
ธิติมนฺโต จ โย อิสิ [เถรคา. ๑๐๕๒]
ท่านใด
เป็นผู้แสวงหาคุณ เป็นผู้มีคติ มีสติ และมีความตั้งมั่น.
จกฺขุมนฺโต
มหายโส
พระผู้มียศยิ่งใหญ่
มีจักษุ
ตุยฺหํ
ปิตา มหาวีร,
ปญฺญวนฺต ชุตินฺธร [อป. เถรี ๒.๒.๓๘๙]
ข้าแต่พระมหาวีระ
(ผู้แกล้วกล้า) ผู้มีปัญญา ทรงความรุ่งเรืองไว้ บิดาของท่าน.
ปฐมาโยมฺหิ
กฺวจิ นฺตุสฺส ฏ โหติ, วคฺคุมุทาตีริยา ปน ภิกฺขู วณฺณวา
โหนฺติ [ปารา. ๑๙๔], เอถ ตุมฺเห อาวุโส
สีลวา โหถ [อ. นิ. ๕.๑๑๔], จกฺขุมา
อนฺธกา โหนฺติ, เย อิตฺถีนํ วสํ คตา [ชา.
อฏฺฐ. ๒.๓.๓๖], สํสุทฺธปญฺญา กุสลา มุติมา ภวนฺติ
[สุ. นิ. ๘๘๗ (สํสุทฺธปญฺญา กุสลา มุตีมา)]ฯ
บางแห่ง แปลง
นฺตุ เป็น อ เพราะโยปฐมาวิภัตติ เช่น
วคฺคุมุทาตีริยา
ปน ภิกฺขู วณฺณวา โหนฺติ [วิ.มหา.๒/๓๐๕ (สยาม],
ส่วนภิกษุพวกฝั่งแม่น้ำวัคคุมุทา
เป็นผู้มีน้ำนวล
เอถ
ตุมฺเห อาวุโส สีลวา โหถ [อํ.ปญฺจ.๒๒/๑๑๔ (สยาม)],
ท่านผู้มีอายุ
ท่านทั้งหลายมานี่เถิด, จงเป็นผู้มีศีล.
จกฺขุมา
อนฺธกา โหนฺติ,
เย อิตฺถีนํ วสํ คตา [มุทุปาณิชา.อ. - ล.
๓ ภ. ๕ ข.๓๘๕ แปลมมก.]
ชนผู้ตกอยู่ในอำนาจของหญิง
มีตาก็เป็นคนตาบอด.
สํสุทฺธปญฺญา
กุสลา มุติมา[2]
ภวนฺติ [ขุ.สุ.๒๕/๔๑๙ (สยาม)]
ย่อมเป็นผู้มีปัญญาบริสุทธิหมดจด
เป็นคนฉลาดเฉลียว มีความคิด
อิติ
คุณวาทิคณราสิฯ
คุณวาทิคณะ
(กลุ่มนามศัพท์มีคุณวนฺตุเป็นต้น) เป็นดังนี้
[1] สัททนีติสุตตมาลา
สูตร ๒๕๒ สิมฺหิ กตฺถจิ (เพราะสิ แปลง อุ ของ นฺตุ เป็น อ ได้บ้าง) กล่าวว่า วิธีนี้ใช้ที่เป็นคาถา.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น