คุณวาทิคณราสิ
๑๑๙. นฺตุสฺส [ก. ๑๒๔; รู. ๙๘;
นี. ๒๙๙]ฯ
เพราะ สิ แปลง
นฺตุ เป็น อา
ในเพราะสิวิภัตติ
มีการแปลง นฺตุ เป็น อา ตัวอย่าง
คุณวา ติฏฺฐติ
ท่านผู้มีคุณ ยืนอยู่.
๑๒๐. ยฺวาโท นฺตุสฺส [ก. ๙๒; รู.
๑๐๐; นี. ๒๔๙]ฯ
เพราะ โยเป็นต้น
นฺตุ แปลง เป็น อ.
โยอาทีสุ
นฺตุสฺส อตฺตํ โหติฯ คุณวนฺตา ติฏฺฐนฺติ.
ในเพราะโยวิภัตติเป็นต้น
แปลง นฺตุ เป็น อ. ตัวอย่าง
คุณวนฺตา
ติฏฺฐนฺติ.
ท่านผู้มีคุณท. ยืนอยู่.
๑๒๑. นฺตนฺตูนํ นฺโต โยมฺหิ ปฐเม [ก. ๙๒; รู. ๑๐๐; นี. ๒๔๙]ฯ
เพราะโยปฐมาวิภัตติ
นฺต และ นฺตุ กับวิภัตติ เป็น นฺโต
ปฐเม
โยมฺหิ สวิภตฺตีนํ นฺต, นฺตูนํ นฺโต โหติฯ คุณวนฺโต
ติฏฺฐนฺติ.
ในเพราะ โย
อันเป็นปฐมาวิภัตติ นฺต และ นฺตุ พร้อมทั้งวิภัตติ เป็น นฺโต. ตัวอย่าง
คุณวนฺโต
ติฏฺฐนฺติ.
ท่านผู้มีคุณท. ยืนอยู่.
อาลปนวิภัตติ
เพราะ สิ ชื่อ ค
แปลงนฺต และ นฺตุ กับวิภัตติ เป็น อ อา และ อํ.
เค ปเร
สวิภตฺตีนํ นฺต,
นฺตูนํ ฏ, ฏา, อํ
โหนฺติฯโภ คุณว, โภ คุณวา, โภ คุณวํ, โภนฺโต คุณวนฺตา, โภนฺโต คุณวนฺโต,คุณวนฺตํ,
คุณวนฺเต, คุณวนฺเตนฯ
ในเพราะค
อันเป็นเบื้องหลัง แปลง นฺต และ นฺตุ พร้อมทั้งวิภัตติ เป็น อ อา และ อํ.
โภ คุณว, โภ คุณวา, โภ คุณวํ, ข้าแต่ท่านผู้มีคุณ
โภนฺโต
คุณวนฺตา,
โภนฺโต คุณวนฺโต, ข้าแต่ท่านผู้มีคุณท.
ทุติยาวิภัตติ
คุณวนฺตํ ซึ่งท่านผู้มีคุณ
คุณวนฺเต ซึ่งท่านผู้มีคุณท.
ตติยาวิภัตติ
คุณวนฺเตน ด้วยท่านผุ้มีคุณ
เพราะ ส สฺมา
สฺมิํ และนา แปลง นฺต และ นฺตุ กับวิภัตติ เป็น โต ตา ติ และ ตา ตามลำดับได้บ้าง
ส, สฺมา, สฺมิํ, นาสุ สวิภตฺตีนํ
นฺต, นฺตูนํ กเมน โต, ตา,ติ, ตา โหนฺติ วาฯ คุณวตา, คุณวนฺเตหิ,
คุณวนฺเตภิ,
คุณวนฺตสฺส, คุณวโตฯ
ในเพราะ ส สฺมา
สฺมิํ และนาวิภัตติท. แปลง นฺต และ นฺตุ อันเป็นไปกับด้วยวิภัตติ เป็น โต ตา ติ
และ ตา ตามลำดับ ได้บ้าง.
คุณวตา ด้วยท่านผู้มีคุณ
คุณวนฺเตหิ, คุณวนฺเตภิ ด้วยท่านผู้มีคุณท.
จตุตถีวิภัตติ
คุณวนฺตสฺส, คุณวโต แก่ท่านผู้มีคุณ
ในเพราะนํวิภัตติทั้งหลาย
(จตุ.และฉ.) แปลง นฺต และนฺตุ พร้อมวิภัตติ เป็น ตํ ได้บ้าง.
นํมฺหิ
สวิภตฺตีนํ นฺต,
นฺตูนํ ตํ โหติ วาฯ คุณวนฺตานํ, คุณวตํ,
คุณวนฺตสฺมา, คุณวนฺตมฺหา, คุณวนฺตา, คุณวตา, คุณวนฺเตหิ,
คุณวนฺเตภิ, คุณวนฺตสฺส, คุณวโต, คุณวนฺตานํ, คุณวตํ,
คุณวนฺตสฺมิํ, คุณวนฺตมฺหิ, คุณวติ, คุณวนฺเต, คุณวนฺเตสุฯ
ในเพราะนํวิภัตติทั้งหลาย
(จตุ.และฉ.) แปลง นฺตและนฺตุ อันเป็นไปกับด้วยวิภัตติ เป็น ตํ ได้บ้าง.
คุณวนฺตานํ, คุณวตํ แก่ท่านผู้มีคุณท.
ปัญจมีวิภัตติ
คุณวนฺตสฺมา, คุณวนฺตมฺหา, คุณวนฺตา, คุณวตา จากท่านผู้มีคุณ
คุณวนฺเตหิ, คุณวนฺเตภิ จากท่านผู้มีคุณท.
ฉัฏฐีวิภัตติ
คุณวนฺตสฺส, คุณวโต แห่งท่านผู้มีคุณ
คุณวนฺตานํ, คุณวตํ แห่งท่านผู้มีคุณท.
สัตตมีวิภัตติ
คุณวนฺตสฺมิํ, คุณวนฺตมฺหิ, คุณวติ, คุณวนฺเต ในท่านผู้มีคุณ
คุณวนฺเตสุ ในท่านผู้มีคุณท.
เอวํ ภควา, สีลวา, ปญฺญวา, พลวา, ธนวา, วณฺณวา, โภควา, สุตวา อิจฺจาทิฯ เอตฺถ จ อาลปเน ภควาติ นิจฺจํ ทีโฆฯ
ศัพท์ต่อไปนี้
มีวิธีการสำเร็จรูปเหมือนคุณวนฺตุศัพท์ เช่น
ภควา
พระผู้มีพระภาค สีลวา ผู้มีศีล ปญฺญวา ผู้มีปัญญา
พลวา ผู้มีกำลัง
ธนวา บุรุษมีทรัพย์
วณฺณวา มีวรรณะดี
โภควา
ผู้มีโภคะ สุตวา
ผู้มีสุตะ
ในกลุ่มศัพท์ดังกล่าวมานี้
รูปว่า ภควา (ข้าแต่พระผู้มีพระภาค) ในอาลปนะ เป็นทีฆะแน่นอน.
(กลุ่มศัพท์ที่ลง
อาวนฺตุ ปัจจัย)
สพฺพาวา, สพฺพาวนฺโต, สพฺพาวนฺตํ, สพฺพาวนฺเต,
สพฺพาวนฺเตน, สพฺพาวตา, สพฺพาวนฺเตหิ…เป.… สพฺพาวนฺเตสุฯ
ปฐมาวิภัตติ
สพฺพาวนฺโต ...
ผู้มีจำนวนทั้งหมดท.,
ทุติยาวิภัตติ
สพฺพาวนฺตํ ซึ่ง
... ผู้มีจำนวนทั้งหมด,
สพฺพาวนฺเต ซึ่ง...
ผู้มีจำนวนทั้งหมดท.,
ตติยาวิภัตติ
สพฺพาวนฺเตน, สพฺพาวตา ด้วย... ผู้มีจำนวนทั้งหมด,
สพฺพาวนฺเตหิ ด้วย...
ผู้มีจำนวนทั้งหมดท.,
ฯลฯ (ที่ละไว้
คือ จตุตถีวิภัตติ จนถึง สัตตมีวิภัตติ เหมือนคุณวนฺตุศัพท์)
สพฺพาวนฺเตสุ ใน...
ผู้มีจำนวนทั้งหมดท.,
เอวํ
ยาวา,
ยาวนฺโต, ตาวา, ตาวนฺโต,
เอตฺตาวา, เอตฺตาวนฺโต, กิํวา,
กิํวนฺโต, กิตฺตาวา, กิตฺตาวนฺโต
อิจฺจาทิฯ ตถา โภชนํ ภุตฺตวา, ภุตฺตวนฺโต, ธมฺมํ พุทฺธวา, พุทฺธวนฺโต, กมฺมํ
กตวา, กตวนฺโต อิจฺจาทิ จฯ
แม้สัพพนามอื่นก็มีนัยนี้
เช่น
ยาวา,
ยาวนฺโต
มีจำนวนเท่าใด,
ตาวา, ตาวนฺโต มีจำนวนเท่านั้น,
เอตฺตาวา, เอตฺตาวนฺโต มีจำนวนเท่านี้,
กิํวา, กิํวนฺโต มีจำนวนเท่าไร,
ถึงศัพท์ที่ลง
ตวนฺตุ ปัจจัย ก็เหมือนกัน เช่น
โภชนํ
ภุตฺตวา,
ภุตฺตวนฺโต รับประทานอาหารแล้ว
ธมฺมํ
พุทฺธวา,
พุทฺธวนฺโต ตรัสรู้ซึ่งธรรมแล้ว
กมฺมํ
กตวา,
กตวนฺโต กระทำซึ่งการงานแล้ว.
สติมา, สติมนฺตา, สติมนฺโต, โภ สติม,
โภ สติมา, โภ สติมํ, โภนฺโต
สติมนฺตา, โภนฺโต สติมนฺโต, สติมนฺตํ,
สติมนฺเต, สติมนฺเตน, สติมตา,
สติมนฺเตหิ, สติมนฺเตภิ, สติมนฺตสฺส, สติมโต, สติมนฺตานํ,
สติมตํ, สติมนฺตสฺมา, สติมนฺตมฺหา,
สติมนฺตา, สติมตา, สติมนฺเตหิ,
สติมนฺเตภิ, สติมนฺตสฺส, สติมโต, สติมนฺตานํ, สติมตํ,
สติมนฺตสฺมิํ, สติมนฺตมฺหิ, สติมติ, สติมนฺเต, สติมนฺเตสุฯ
เอวํ
มติมา,
คติมา, ปาปิมา, ชาติมา,
ภาณุมา, อายุมา, อายสฺมา,
สิริมา, หิริมา, ธิติมา,
กิตฺติมา, อิทฺธิมา, ชุติมา, มุติมา, ถุติมา, พุทฺธิมา, จกฺขุมา, พนฺธุมา,
โคมา อิจฺจาทิฯ
สติมนฺตุ
ผู้มีสติ
ปฐมาวิภัตติ
สติมา ผู้มีสติ
สติมนฺตา, สติมนฺโต ผู้มีสติท.
อาลปนวิภัตติ
โภ สติม, โภ สติมา, โภ สติมํ ข้าแต่ผู้มีสติ
โภนฺโต สติมนฺตา, โภนฺโต สติมนฺโต ข้าแต่ผู้มีสติท.
ทุติยาวิภัตติ
สติมนฺตํ ซึ่งผู้มีสติ,
สติมนฺเต
ซึ่งผู้มีสติท.,
ตติยาวิภัตติ
สติมนฺเตน, สติมตา ด้วยผู้มีสติ
สติมนฺเตหิ, สติมนฺเตภิ ด้วยผู้มีสติท.
จตุตถีวิภัตติ
สติมนฺตสฺส, สติมโต แก่ผู้มีสติ,
สติมนฺตานํ, สติมตํ แก่ผู้มีสติท.,
ปัญจมีวิภัตติ
สติมนฺตสฺมา, สติมนฺตมฺหา, สติมนฺตา, สติมตา
จากผู้มีสติ
สติมนฺเตหิ, สติมนฺเตภิ จากผู้มีสติท.
ฉัฏฐีวิภัตติ
สติมนฺตสฺส, สติมโต แห่งผู้มีสติ
สติมนฺตานํ, สติมตํ แห่งผู้มีสติท.
สัตตมีวิภัตติ
สติมนฺตสฺมิํ, สติมนฺตมฺหิ, สติมติ, สติมนฺเต
ในผู้มีสติ
สติมนฺเตสุ
ในผู้มีสติท.
ศัพท์ที่ลง
มนฺตุ ปัจจัยเหล่านี้ มีนัยเดียวกับคุณวนฺตุศัพท์
มติมา ผู้มีความรู้ คติมา ผู้มีคติ (แนวทาง) ปาปิมา ผู้มีบาป
ชาติมา ผู้มีชาติ ภาณุมา ผู้มีแสงสว่าง
(พระอาทิตย์) อายุมา ผู้มีอายุ
อายสฺมา
ผู้มีอายุ สิริมา ผู้มีสิริ หิริมา ผู้มีความละอาย
ธิติมา ผู้มีความตั้งมั่น กิตฺติมา ผู้มีเกียรติ อิทฺธิมา ผู้มีฤทธิ์
ชุติมา ผู้มีแสงสว่าง มุติมา ผู้มีความรู้ ถุติมา
ผู้มีการสรรเสริญ
พุทฺธิมา
ผู้มีปัญญา จกฺขุมา ผู้มีจักษุ พนฺธุมา ผู้มีพวกพ้อง
โคมา
ผู้มีโค
*******
[1] เพิ่มบทประธานตามควรแก่เนื้อความ
เช่น อตฺโถ ความหมายอันมีจำนวนทั้งหมด, กาย อันมีอวัยวะทั้งหมด
[2] ลง
อาวนฺตุ ปัจจัยท้ายสัพพนามต่างๆ เช่น สพฺพ เป็นต้น ในอรรถว่า ตทสฺส ปริมาณํ
นี้เป็นจำนวนของสิ่งนั้น ด้วยสูตร ๔๙๘. สพฺพา จ ฏาวนฺตุ (ลง อาวนฺตุ ท้าย
สพฺพและศัพท์อื่น ในอรรถ ตมสฺส ปริมาณํ) และด้วยสูตรโมคคัลลานไวยากรณ์ (๔/๔๓) ว่า สพฺพา จาวนฺตุ (ลง
อาวนฺตุ ปัจจัยท้าย สพฺพ ศัพท์และอื่นๆ [คือ ย, ต และ เอต]) มีวิเคราะห์ว่า สพฺพํ ปริมาณมสฺส
สพฺพาวนฺตํ, จำนวนทั้งหมดมีอยู่แก่สิ่งนั้น เหตุนั้น
สิ่งนั้นชื่อว่า สพฺพาวนฺตํ, สพฺพาวนฺโต = มีจำนวนทั้งหมด). วนฺตุ ปัจจัย (ในสูตรใช้คำว่า นฺตุ) ที่ลงท้าย สพฺพ ศัพท์ และทำทีฆะ อ
เป็น อา เป็นรูปว่า สพฺพาวนฺต (มีจำนวนทั้งหมด) ดังอุทาหรณ์ในพระบาฬีว่า โส เมตฺตาสหคเตน เจตสา เอกํ ทิสํ ผริตฺวา
วิหรติ. ตถา ทุติยํ. ตถา ตติยํ. ตถา จตุตฺถํ. อิติ อุทฺธมโธ ติริยํ สพฺพธิ
สพฺพตฺตตาย สพฺพาวนฺตํ โลกํ เมตฺตาสหคเตน เจตสา วิปุเลน มหคฺคเตน อปฺปมาเณน อเวเรน
อพฺยาปชฺเชน ผริตฺวา วิหรติ (ที.สี.๙/๕๕๖). “ภิกษุนั้นมีเมตตาจิตแผ่ไปตลอดทิศที่
๑ ทิศที่ ๒ ทิศที่ ๓ ทิศที่ ๔ ทิศเบื้องบน ทิศเบื้องล่าง ทิศเฉียง โดยประการฉะนี้
เธอแผ่ไปตลอดโลกทุกหมู่เหล่าโดยมีตนเสมอกันในสัตว์ทั้งปวงในที่ทุกสถาน
ด้วยเมตตาจิตอันไพบูลย์ถึงความยิ่งใหญ่ ไม่มีขอบเขต ไม่มีเวร
ไม่มีความเบียดเบียนอยู่” และ นาสฺส กิญฺจิ สพฺพาวโต กายสฺส วิเวกเชน
ปีติสุเขน อปฺผุฏํ โหติ (ที.สี.๙/๒๒๖). “ไม่มีที่ไหนของร่างกายทุกส่วนอันปีติและสุขซึ่งเกิดจากความสงัดนิวรณ์จะไม่กระทบอยู่”.
คัมภีร์อรรถกถาทีฆนิกาย (ที.สี.อ.๑/๑๙๖) อธิบาย สพฺพาวโต กายสฺส
ว่า สพฺพโกฏฺฐาสวโต กายสฺส (ร่างกายที่มีอวัยวะทุกส่วน)
และคัมภีร์ฎีกาทีฆนิกาย (ที.สี.ฎี.๑/๓๒๑) แสดงรูปวิเคราะห์ว่า สพฺพํ เอตสฺส
อตฺถีติ สพฺพวา (มีอวัยวะทุกส่วน) ตามนัยนี้ให้ลง วนฺตุ ปัจจัยท้าย สพฺพ
ศัพท์ในอัสสัตถิตัทธิต. ส่วนคัมภีร์ปทรูปสิทธิ กล่าวถึงรูปว่า สพฺพาวนฺต
เป็นต้นเหล่านี้ไว้ในวุตติของสูตร ๓๘๔.อาลุ ตพฺพหุเล ว่า วนฺตุมฺหิ อาตฺตญฺจ,
ยํ ปริมาณมสฺสาติ ยาวา, ยาวโนฺต , คุณวนฺตุสมํฯ เอวํ ตาวา, ตาวโนฺตฯ เอตาวา, เอตาวโนฺต อิจฺจาทิฯ ความเป็น อา ในเพราะ วนฺตุ ปัจจัย ย่อมมี
[ด้วยมหาสูตร] เช่น ยํ ปริมาณมสฺสาติ ยาวา,
ยาวนฺโต. จำนวนเท่าใดมีอยู่แก่สิ่งนั้น เหตุนั้น สิ่งนั้นได้รูปว่า
ยาวา หรือว่า ยาวนฺโต (มีจำนวนเท่าใด, เพียงใด) [ยาวา =
เอกพจน์, ยาวนฺโต = พหูพจน์] [รูปที่เหลือพึงทราบ]เหมือนกับ
คุณวนฺตุ ศัพท์
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น