อูการนฺตปุลฺลิงฺคราสิ
กลุ่มนามศัพท์
ปุงลิงค์ อูการันต์
ปฐมาวิภัตติ
สยมฺภู
พระสยัมภู
ลบ สิ ท้าย
อูการันต์ ด้วยสูตร (๘๒) คสีนํ (ลบ คและสิ
ที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงด้วยสูตรอื่น),
สยมฺภู
คจฺฉติ
พระสยัมภู เสด็จไป
สยมฺภู
พระสยัมภูท.
ลบ โย
ด้วยสูตร (๑๖๕) โลโป (โย ท้าย ฌ
และ ล ได้).
สยมฺภู
คจฺฉนฺติ
พระสยัมภูท. ย่อมเสด็จไป.
ปกฺเข
–
ในส่วนแห่งรูปสำเร็จ
‘ชนฺตาทิโต โน จา’ติ โยนํ โว, โน,
สยมฺภุโว, สยมฺภุโนฯ
แปลง โย เป็น
โว และ โน ด้วยสูตร (๑๘๑). ชนฺตาทิโต โน จ (ในปุงลิงค์ โน และ โว เป็น อาเทสของ โย หลัง ชนฺตุศัพท์เป็นต้น).
สยมฺภุโว,
สยมฺภุโน
พระสยัมภูท.
‘เค วา’ติ เค ปเร วิกปฺเปน รสฺโส, โภ สยมฺภุ, โภ สยมฺภู, โภนฺโต สยมฺภู,
สยมฺภุโว, สยมฺภุโนฯ
อาลปนวิภัตติ
ในเพราะ สิ
ชื่อ ค อันเป็นเบื้องหลัง รัสสะ อู ได้บ้าง ด้วยสูตร เค วา
โภ สยมฺภุ, โภ สยมฺภู ข้าแต่พระสยัมภู
โภนฺโต
สยมฺภู,
สยมฺภุโว, สยมฺภุโน ข้าแต่พระสยัมภู
ท.
‘เอกวจนโยสฺวโฆน’นฺติ อมาทีสุ เอกวจเนสุ นิจฺจํ รสฺโส,
สยมฺภุํ, คาถายํ ‘สยมฺภุน’นฺติปิ ยุชฺชติฯ
ทุติยาวิภัตติ
ในพราะวิภัตติฝ่ายเอกวจนะท.
มีอํ เป็นต้น สระทีฆะ รัสสะแน่นอน ด้วยสูตร เอกวจนโยสฺวโฆนํ
สยมฺภุํ
ซึ่งพระสยัมภู
ในคาถา
จะมีรูปว่า สยมฺภุนํ ก็ใช้ได้.
สยมฺภู, สยมฺภุโว, สยมฺภุโน
ซึ่งพระสยัมภูท.
สยมฺภุนา, สยมฺภูหิ, สยมฺภูภิ, สยมฺภุสฺส,
สยมฺภุโน, สยมฺภูนํฯ สยมฺภุสฺมา, สยมฺภุมฺหา, สยมฺภุนา, สยมฺภูหิ,
สยมฺภูภิ, สยมฺภุสฺส, สยมฺภุโน,
สยมฺภูนํฯ สยมฺภุสฺมิํ, สยมฺภุมฺหิ, สยมฺภูสุฯ
ตติยาวิภัตติ
สยมฺภุนา ด้วยพระสยัมภู
สยมฺภูหิ, สยมฺภูภิ ด้วยพระสยัมภูท.
จตุตถีวิภัตติ
สยมฺภุสฺส, สยมฺภุโน แก่พระสยัมภู
สยมฺภูนํ แก่พระสยัมภูท.
ปัญจมีวิภัตติ
สยมฺภุสฺมา, สยมฺภุมฺหา, สยมฺภุนา จากพระสยัมภู
สยมฺภูหิ, สยมฺภูภิ จากพระสยัมภูท.
ฉัฏฐีวิภัตติ
สยมฺภุสฺส, สยมฺภุโน แห่งพระสยัมภู
สยมฺภูนํ
แห่งพระสยัมภูท.
สัตตมีวิภัตติ
สยมฺภุสฺมิํ, สยมฺภุมฺหิ ในพระสยัมภู
สยมฺภูสุ ในพระสยัมภู
ท.
เอวํ
อภิภู,
ปราภิภู, เวสฺสภู, โคตฺรภู,
วตฺรภู อิจฺจาทิฯ
ศัพท์เหล่านี้เหมือนสยมฺภู
เช่น
อภิภู
ผู้ครอบงำ ปราภิภู
ผู้พ่ายแพ้ เวสฺสภู
พระพุทธเจ้าเวสสภู
โคตฺรภู
โคตรภูจิต วตฺรภู
พระอินทร์ (ผู้ชนะท้าววัตรอสูร)
เสเสสุ
ปน โยนํ โน เอว ลพฺภติ, จิตฺตสหภุโน ธมฺมา [ธ. ส. ทุกมาติกา ๖๑]ฯ
ในศัพท์ท.
ที่เหลือ โน เป็น อาเทสของ โย เท่านั้น เช่น
จิตฺตสหภุโน
ธมฺมา [๓๔/๑๑]
ธรรมทั้งหลายที่เกิดร่วมกับจิต
มีอยู่
๑๙๔. กูโต [ก. ๑๑๙; รู. ๑๕๕;
นี. ๒๙๔]ฯ
โน เป็นอาเทส
ของ โย ที่อยู่หลังจากศัพท์มีอูปัจจัยเป็นที่สุด ได้บ้าง
ปุเม
กูปจฺจยนฺเตหิ โยนํ โน โหติ วาฯ
โน เป็นอาเทส
ของ โย ที่อยู่หลังจากศัพท์มีอูปัจจัยเป็นที่สุด ได้บ้าง
สพฺพญฺญู, สพฺพญฺญุโนฯ
สพฺพญฺญู,
สพฺพญฺญุโน
พระสัพพัญญูท.
เสสํ
สุวิญฺเญยฺยํฯ
รูปที่เหลือ
เข้าใจง่าย.
วิญฺญู,
วทญฺญู, อตฺถญฺญู, ธมฺมญฺญู,
มตฺตญฺญู, วิทูฯ อิธ กูสทฺเทน รูปจฺจยนฺตาปิ
คยฺหนฺติ, เวทคู, ปารคูฯ ตถา ภีรู, ปภงฺคู, วิราคูอิจฺจาทิ จฯ
ศัพท์เหล่านี้
เหมือน สพฺพญฺญู
วิญฺญู
ผู้รู้ วทญฺญู ผู้รู้คำพูด อตฺถญฺญู
ผู้รู้อรรถ
ธมฺมญฺญู
ผู้รู้ธรรม มตฺตญฺญู
ผู้รู้ประมาณ วิทู ผู้รู้แจ้ง
แม้นามศัพท์ที่มีรูปัจจัยเป็นที่สุด
ถูกถือเอาด้วย กูศัพท์ เช่น
เวทคู ผู้ถึงเวท
ปารคู ผู้ถึงฝั่ง ภีรู
ผู้หวาดกลัว,
อูการนฺตปุลฺลิงฺคราสิ
นิฏฺฐิโตฯ
กลุ่มนามศัพท์
อูการันต์ ปุงลิงค์ จบแล้ว
โอการนฺโต
ปน โคสทฺโท เอว,
โส ปุพฺเพ วุตฺโตเยวฯ
นามศัพท์
โอการันต์ มีเฉพาะโคศัพท์เท่านั้น, ซึ่ง โคศัพท์นั้น
ได้กล่าวไว้แล้วในตอนต้นนั่นเทียว
ปุลฺลิงฺคราสิ
นิฏฺฐิโตฯ
กลุ่มนามศัพท์ที่เป็นปุงลิงค์ จบแล้ว
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น