วันอาทิตย์ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2561

ปุงลิงค์ - อการันต์ ครั้งที่ ๑๑ (ราชาทิยุวาทิคณราสิ- จบ.)


พฺรหฺม ศัพท์ (พรหม)
พฺรหฺมา, พฺรหฺมาโน, โภ พฺรหฺม, โภ พฺรหฺมาฯ ฆพฺรหฺมาทิตฺเวติ คสฺส เอตฺตํ, โภ พฺรหฺเม, โภนฺโต พฺรหฺมาโน, พฺรหฺมานํ, พฺรหฺมํ, พฺรหฺมาโนฯ
ปฐมาวิภัตติ
พฺรหฺมา พรหม
พฺรหฺมาโน พรหมท.


อาลปนวิภัตติ
โภ พฺรหฺม, โภ พฺรหฺมา, โภ พฺรหฺเม ข้าแต่พรหม
ในรูปว่า พฺรหฺเม ความเป็น เอ แห่ง สิ ชื่อ ค ย่อมมี ด้วยสูตร ฆพฺรหฺมาทิตฺเว (ท้าย ฆ และพฺรหฺมศัพท์เป็นต้น เอ เป็นอาเทสของ สิ ชื่อ ค)
โภนฺโต พฺรหฺมาโน ข้าแต่พรหมท.

ทุติยาวิภัตติ
พฺรหฺมานํ, พฺรหฺมํ ซึ่งพรหม
พฺรหฺมาโน ซึ่งพรหมท.

ตติยาวิภัตติ
๑๔๒. นามฺหิ [ก. ๑๙๘; รู. ๑๒๓; นี. ๔๑๐]ฯ
เพราะ นาวิภัตติ อ อันเป็นที่สุดของ พฺรหฺม เป็น อุ ได้บ้าง

นามฺหิ พฺรหฺมสฺส อุ โหติ วาฯ พฺรหฺมุนา, พฺรหฺเมน, พฺรหฺเมหิ, พฺรหฺเมภิฯ
เพราะนาวิภัตติข้างหลัง อ อันเป็นที่สุดของ พฺรหฺมศัพท์ เป็น อุ ได้บ้าง

พฺรหฺมุนา, พฺรหฺเมน ด้วยพรหม
พฺรหฺเมหิ, พฺรหฺเมภิ ด้วยพรหมท.

จตุตถีวิภัตติ
๑๔๓. พฺรหฺมสฺสุ วา [ก. ๑๙๘; รู. ๑๒๓; นี. ๔๑๐]ฯ
เพราะสและนํวิภัตติ อ อันเป็นที่สุดของพฺรหฺมศัพท์ เป็น อุ ได้บ้าง

, นํสุ พฺรหฺมสฺส อุ โหติ วาฯ
เพราะสและนํวิภัตติอยู่เบื้องหลัง อ อันเป็นที่สุดของพฺรหฺมศัพท์ เป็น อุ ได้บ้าง

๑๔๔. ฌลา สสฺส โน [ก. ๑๑๗; รู. ๑๒๔; นี. ๒๙๒]ฯ
สวิภัตติที่อยู่ข้างหลังจาก ฌ และ ล เป็น โน.

, ลโต สสฺส โน โหติฯ พฺรหฺมุโน, พฺรหฺมสฺส, พฺรหฺมูนํ, พฺรหฺมานํฯ
โน เป็นอาเทสของ สวิภัตติ ที่อยู่ข้างหลังจาก อิวัณณะ ชื่อ ฌ และ อุวัณณะชื่อ ล.
พฺรหฺมุโน, พฺรหฺมสฺส แก่พรหม
พฺรหฺมูนํ, พฺรหฺมานํ แก่พรหมท.

ปัญจมีวิภัตติ
๑๔๕. สฺมา นาว พฺรหฺมา จ [ก. ๒๗๐; รู. ๑๒๐; นี. ๕๔๒][๑]
สฺมาวิภัตติที่อยู่ข้างหลัง อตฺต อาตุม และพฺรหฺมศัพท์ เป็นเหมือนนาวิภัตติ.

อตฺตาตุเมหิ จ พฺรหฺมโต จ สฺมาสฺส นา วิย รูปํ โหติฯ พฺรหฺมุนา, พฺรหฺมสฺมา, พฺรหฺมมฺหา, พฺรหฺมุโน, พฺรหฺมสฺส, พฺรหฺมูนํ, พฺรหฺมานํฯ กมฺมาทิโตติ สุตฺเตน สฺมิํโน นิ โหติ, พฺรหฺมสฺมิํ, พฺรหฺมมฺหิ, พฺรหฺมนิ, พฺรหฺเม, พฺรหฺเมสุฯ
รูปสำเร็จของสฺมาวิภัตติ อันเป็นเบื้องหลังจาก อตฺต อาตุม และพฺรหฺมศัพท์ เป็นเหมือนนาวิภัตติ.
พฺรหฺมุนา, พฺรหฺมสฺมา, พฺรหฺมมฺหา จากพรหม
(พฺรหฺเมหิ, พฺรหฺเมภิ) จากพรหมท.

ฉัฏฐีวิภัตติ
พฺรหฺมุโน, พฺรหฺมสฺส แห่งพรหม
พฺรหฺมูนํ, พฺรหฺมานํ แห่งพรหมท.

สัตตมีวิภัตติ
นิ เป็นอาเทสของ สฺมิํ ด้วยสูตร กมฺมาทิโต (๑๙๙ - สฺมิํวิภัตติท้ายกมฺมศัพท์เป็นต้น เป็นนิ)
พฺรหฺมสฺมิํ, พฺรหฺมมฺหิ, พฺรหฺมนิ, พฺรหฺเม ในพรหม
พฺรหฺเมสุ ในพรหมท.
************************

อตฺต ศัพท์ (ตน)
อตฺตา, อตฺตาโน, โภ อตฺต, โภ อตฺตา, โภนฺโต อตฺตาโน, อตฺตานํ, อตฺตํ, อตฺตาโนฯ นาสฺเสโนติ วิกปฺเปน นาสฺส เอนตฺตํ, อตฺตนา, อตฺเตนฯ
อตฺตศัพท์ (ตน)
ปฐมาวิภัตติ
อตฺตา ตน
อตฺตาโน ตนท.

อาลปนวิภัตติ
โภ อตฺต, โภ อตฺตา ดูก่อนตน
โภนฺโต อตฺตาโน ดูก่อนตนท.

ทุติยาวิภัตติ
อตฺตานํ, อตฺตํ ซึ่งตน
อตฺตาโน ซึ่งตนท.

ตติยาวิภัตติ
แปลงนาเป็น เอน ได้บ้าง ด้วยสูตรว่า นาสฺเสโน (๑๙๘ - เอน เป็นอาเทสของนาวิภัตติ ที่อยู่ข้างหลังจาก กมฺมศัพท์เป็นต้น ได้บ้าง)
อตฺตนา, อตฺเตน ด้วยตน

๑๔๖. สุหิสฺวนก [ก. ๒๑๑; รู. ๑๒๖; นี. ๔๓๙;ฯ สุหิสุนก (พหูสุ)]ฯ
เพราะสุและหิวิภัตติอันเป็นเบื้องหลัง สระที่สุดของ อตฺตและอาตุมศัพท์ เป็น อน.

สุ, หิสุ อตฺตาตุมานํ อนฺโต อนก โหติฯ อตฺตเนหิ, อตฺตเนภิ, อตฺเตหิ, อตฺเตภิฯ
เพราะสุ และหิวิภัตติท.อันเป็นเบื้องหลัง อน เป็นอาเทสของสระที่สุดของอตฺตและอาตุมศัพท์.
อตฺตเนหิ, อตฺตเนภิ, อตฺเตหิ, อตฺเตภิ ด้วยตนท.

จตุตถีวิภัตติ
๑๔๗. โนตฺตาตุมา [ก. ๒๑๓; รู. ๑๒๗; นี. ๔๔๐]ฯ
สวิภัตติที่อยู่ข้างหลังจากอตฺต และอาตุมศัพท์ เป็น โน.

อตฺตาตุมโต สสฺส โน โหติฯ อตฺตโน, อตฺตสฺส, อตฺตานํ, อตฺตสฺมา, อตฺตมฺหา, อตฺตา, อตฺตนา,                อตฺตเนหิ, อตฺตเนภิ, อตฺเตหิ, อตฺเตภิ, อตฺตโน, อตฺตสฺส, อตฺตานํ, อตฺตสฺมิํ, อตฺตมฺหิ, อตฺตนิ, อตฺเต, อตฺเตสุ, อตฺตเนสุฯ
โน เป็นอาเทส ของ สวิภัตติที่อยู่ข้างหลังจาก อตฺต และอาตุมศัพท์.
อตฺตโน, อตฺตสฺส แก่ตน
อตฺตานํ แก่ตนท.

ปัญจมีวิภัตติ
อตฺตสฺมา, อตฺตมฺหา, อตฺตา, อตฺตนา จากตน
อตฺตเนหิ, อตฺตเนภิ, อตฺเตหิ, อตฺเตภิ จากตนท.

ฉัฏฐีวิภัตติ
อตฺตโน, อตฺตสฺส แห่งตน
อตฺตานํ แห่งตนท.

สัตตมีวิภัตติ
อตฺตสฺมิํ, อตฺตมฺหิ, อตฺตนิ, อตฺเต ในตน
อตฺเตสุ, อตฺตเนสุ ในตนท.

สมาเส ปน ปุริสาทิรูปํ โหติ,   ปหิโต อตฺตา เอเตนาติ ปหิตตฺโต, ปหิตตฺตา, ปหิตตฺตํ, ปหิตตฺเต, ปหิตตฺเตน, ปหิตตฺเตหิ, ปหิตตฺเตภิ, ปหิตตฺตสฺส, ปหิตตฺตานํ, ปหิตตฺตสฺมา, ปหิตตฺตมฺหา, ปหิตตฺตา, ปหิตตฺเตหิ, ปหิตตฺเตภิ, ปหิตตฺตสฺส, ปหิตตฺตานํ, ปหิตตฺตสฺมิํ, ปหิตตฺตมฺหิ, ปหิตตฺเต, ปหิตตฺเตสุฯ
เมื่ออยู่ในบทสมาส อตฺต ศัพท์จะมีรูปเหมือนปุริสาทิคณะ เช่น ปหิตตฺต (ภิกษุ มีตนอันส่งไปแล้ว) มีวิเคราะห์ว่า
ปหิโต อตฺตา เอเตนาติ ปหิตตฺโต
ตน อันภิกษุนี้ส่งไปแล้ว เหตุนั้น ภิกษุนี้ ชื่อว่า ปหิตตฺโต มีตนอันส่งไปแล้ว.

ปฐมาวิภัตติ
ปหิตตฺโต ภิกษุ มีตนอันส่งไปแล้ว
ปหิตตฺตา ภิกษุ มีตนอันส่งไปแล้วท.

ทุติยาวิภัตติ
ปหิตตฺตํ ซึ่งภิกษุ มีตนอันส่งไปแล้ว  
ปหิตตฺเต ซึ่งภิกษุ มีตนอันส่งไปแล้วท.
ตติยาวิภัตติ
ปหิตตฺเตน ด้วยภิกษุ มีตนอันส่งไปแล้ว
ปหิตตฺเตหิ, ปหิตตฺเตภิ ด้วยภิกษุ มีตนอันส่งไปแล้วท.

จตุตถีวิภัตติ
ปหิตตฺตสฺส แก่ภิกษุ มีตนอันส่งไปแล้ว
ปหิตตฺตานํ แก่ภิกษุ มีตนอันส่งไปแล้วท.

ปัญจมีวิภัตติ
ปหิตตฺตสฺมา, ปหิตตฺตมฺหา, ปหิตตฺตา จากภิกษุ มีตนอันส่งไปแล้ว
ปหิตตฺเตหิ, ปหิตตฺเตภิ จากภิกษุ มีตนอันส่งไปแล้วท.

ฉัฏฐีวิภัตติ
ปหิตตฺตสฺส แห่งภิกษุ มีตนอันส่งไปแล้ว
ปหิตตฺตานํ แห่งภิกษุ มีตนอันส่งไปแล้วท.

สัตตมีวิภัตติ
ปหิตตฺตสฺมิํ, ปหิตตฺตมฺหิ, ปหิตตฺเต  ในภิกษุ มีตนอันส่งไปแล้ว
ปหิตตฺเตสุ ในภิกษุ มีตนอันส่งไปแล้วท.

*****************

อาตุม ศัพท์ (ตน)
อาตุมา, อาตุมาโน, อาตุมานํ, อาตุมํ, อาตุมาโน, อาตุมนา, อาตุเมน, อาตุมเนหิ, อาตุมเนภิ,          อาตุมโน, อาตุมสฺส, อาตุมานํ อิจฺจาทิฯ
อาตุม ศัพท์ มีการกระจายรูปวิภัตติดังนี้
ปฐมาวิภัตติ
อาตุมา ตน
อาตุมาโน ตนท.

ทุติยาวิภัตติ
อาตุมานํ, อาตุมํ ซึ่งตน
อาตุมาโน ซึ่งตนท.

ตติยาวิภัตติ
อาตุมนา, อาตุเมน ด้วยตน
อาตุมเนหิ, อาตุมเนภิ ด้วยตนท.

จตุตถีวิภัตติ
อาตุมโน, อาตุมสฺส แก่ตน
อาตุมานํ แก่ตนท.

(ปัญจมีวิภัตติ จนถึง สัตตมีวิภัตติ เหมือน อตฺต ศัพท์)

*****************

สข ศัพท์ (เพื่อน)
สขา ติฏฺฐติ.
ปฐมาวิภัตติ
สขา เพื่อน เช่น
สขา ติฏฺฐติ เพื่อนยืนอยู่.

๑๔๘. อาโย โน จ สขา [ก. ๑๙๑; รู. ๑๓๐; นี. ๓๙๔]ฯ
อาโย และ โน เป็นอาเทสของ โยทั้งหลาย อันเป็นเบื้องหลังจาก สขศัพท์.

สขโต โยนํ อาโย จ โน จ โหนฺติ วา อาโน จฯ สขาโน, สขาโยฯ
อาเทสคืออาโย และโน แห่งโย (ปฐมาและทุติยา) วิภัตติท. ซึ่งอยู่ข้างหลังจาก สขศัพท์ ย่อมมี
สขาโน, สขาโย เพื่อนท.

๑๔๙. โนนาเสสฺวิ [ก. ๑๙๔; รู. ๑๓๑; นี. ๔๐๗]ฯ
เพราะโน, นา และสวิภัตติ  อิ เป็นอาเทสของสระที่สุดของ สข ได้บ้าง.

โน, นา, เสสุ สขนฺตสฺส อิ โหติ วาฯ สขิโนฯ
เพราะ โน (อันแปลงจาก โย), นา และสวิภัตติท. อิ เป็นอาเทสของสระที่สุดของ สข ได้บ้าง.
สขิโน เพื่อนท.

สุตฺตวิภตฺเตน ตฺตปจฺจยมฺหิ อิตฺตํ, ‘‘สขิตฺตํ กเรยฺย, สขิตฺตํ น กเรยฺยา’’ติ [เถรคา. ๑๐๑๗ (สขิตํ)] ปาฬีฯ
ด้วยการแบ่งสูตร (ว่า อิ) ความเป็น อิ ย่อมมีในเพราะ ตฺตปัจจัย เช่นพระบาฬีว่า
สขิตฺตํ กเรยฺย, สขิตฺตํ น กเรยฺย [เถรคา. ๑๐๑๗ (สขิตํ)]

๑๕๐. โยสฺวํหิสฺมานํสฺวารง [ก. ๑๙๕-๖; รู. ๑๓๓-๔; นี. ๔๐๘-๙; โยสฺวํหิสุจารง (พหูสุ)]ฯ
เพราะ โย, อํ, หิ, สฺมา และนํวิภัตติ สระที่สุดของ สข เป็น อาร.

โยสุ อํ, หิ, สฺมา, นํสุ สขนฺตสฺส อารง โหติฯ  โฏเฏ วาติ สุตฺเตน อาราเทสโต โยนํ กเมน โฏ, เฏ              โหนฺติฯ  สขาโร ติฏฺฐนฺติฯ
ในเพราะ โย (ปฐมาและทุติยาวิภัตติ) ท. และในเพราะ อํ, หิ, สฺมา และนํวิภัตติท. อาร เป็น อาเทสของสระที่สุดแห่งสข. ท้าย อารอาเทส โย เป็น โอ และเป็น เอ ด้วยสูตรว่า โฏเฏ วา (โอและเอเป็นอาเทสของโย ได้บ้าง)


สขาโร เพื่อนท. เช่น
สขาโร ติฏฺฐนฺติ
เพื่อนท. ย่อมยืน.

 ฆพฺรหฺมาทิตฺเวติ คสฺส วิกปฺเปน เอตฺตํ, โภ สข, โภ สขา, โภ สเข, หเร สขา กิสฺส มํ ชหาสิ [ชา. ๑.๖.๙๔]ฯ ‘‘สขิ, สขีติ ทฺวยํ อิตฺถิยํ สิทฺธ’’นฺติ วุตฺติยํ วุตฺตํฯ โภนฺโต สขาโน, โภนฺโต สขาโย, โภนฺโต สขิโน, โภนฺโต สขาโร, สขานํ, สขารํ, สขํ, สขาโน, สขาโย, สขิโน, สขาเร, สขาโร, สขินา, สขาเรน, สเขน, สขาเรหิ, สขาเรภิ, สเขหิ, สเขภิ, สขิสฺส, สขิโน, สขารานํ, สขานํฯ
อาลปนวิภัตติ
สิ ชื่อ ค เป็น เอ ได้บ้าง ด้วยสูตร “ฆพฺรหฺมาทิตฺเว”.
โภ สข, โภ สขา, โภ สเข แน่ะเพื่อน  เช่น
หเร สขา กิสฺส มํ ชหาสิ [ขุ.ชา. ๒๗/๙๒๓].
ดูกรสหาย ผู้เจริญ เพราะเหตุไรหนอ ท่านจึงละทิ้งเราไปเสีย

ส่วนในวุตติของสูตร (ว่า ฆพฺรหฺมาทิเต) ท่านอาจารย์โมคคัลลานะได้กล่าวไว้ว่า “สขิ สขีติ ทฺวยํ อิตฺถิยํ สิทฺธํ” สองรูปนี้ คือ สขิ และสขี ใช้ในอิตถีลิงค์.”[๒]

โภนฺโต สขาโน, โภนฺโต สขาโย, โภนฺโต สขิโน, โภนฺโต สขาโร แน่ะเพื่อนท.

ทุติยาวิภัตติ
สขานํ, สขารํ, สขํ ซึ่งเพื่อน
สขาโน, สขาโย, สขิโน, สขาเร, สขาโร ซึ่งเพื่อนท.


ตติยาวิภัตติ
สขินา, สขาเรน, สเขน ด้วยเพื่อน
สขาเรหิ, สขาเรภิ, สเขหิ, สเขภิ ด้วยเพื่อนท.

จตุตถีวิภัตติ
สขิสฺส, สขิโน แก่เพื่อน
สขารานํ, สขานํ แก่เพื่อนท.

๑๕๑. สฺมานํสุ วา [ก. ๑๙๔, ๑๗๐; รู. ๑๒๐, ๑๓๑; นี. ๔๐๗, ๕๔๒]ฯ
เพราะสฺมาและนํวิภัตติ สระที่สุด ของสข เป็น อิ ได้บ้าง.

สฺมา, นํสุ สขนฺตสฺส อิ โหติ วาฯ สขีนํ, สขิสฺมา, สขิมฺหา, สขา, สขินา, สขารสฺมา, สขารมฺหา, สขารา, สขาเรหิ, สขาเรภิ, สเขหิ, สเขภิ, สขิสฺส, สขิโน, สขารานํ, สขานํ, สขีนํฯ
ในเพราะสฺมา และนํวิภัตติท. อิ เป็นอาเทสของสระที่สุดของสขศัพท์ ได้บ้าง.
สขีนํ แก่เพื่อนท.

ปัญจมีวิภัตติ
สขิสฺมา, สขิมฺหา, สขา, สขินา, สขารสฺมา, สขารมฺหา, สขารา จากเพื่อน
สขาเรหิ, สขาเรภิ, สเขหิ, สเขภิ จากเพื่อนท.

ฉัฏฐีวิภัตติ
สขิสฺส, สขิโน แห่งเพื่อน
สขารานํ, สขานํ, สขีนํ แห่งเพื่อนท.

๑๕๒. เฏ สฺมิํโน [ก. ๑๙๒; รู. ๑๓๕]ฯ
สฺมิํ ที่อยู่ข้างหลังจาก สข เป็น เอ.

สขโต สฺมิํโน เฏ โหติฯ นิจฺจตฺถมิทํ สุตฺตํฯ สเข, สขาเรสุ, สเขสุฯ
เอ เป็นอาเทสของสฺมิํวิภัตติที่อยู่ข้างหลังจากสข.  สูตรนี้เพื่อความมี (เอเป็นอาเทส) แน่นอน.

สัตตมีวิภัตติ
สเข ในเพื่อน
สขาเรสุ, สเขสุ ในเพื่อนท.

‘‘เนตาทิสา สขา โหนฺติ, ลพฺภา เม ชีวโต สขา’’ติ [ชา. ๑.๗.๙] ปาฬิฯ ปุริสาทินเยน โยนํ วิธิฯ
มีพระบาฬีที่น่าสังเกตอีกแห่งหนึ่งคือ
หนฺททานิ วนนฺตานิ                 ปกฺกมามิ ยถาสุขํ
เนตาทิสา สขา โหนฺติ,             ลพฺภา เม ชีวโต สขา [ขุ.ชา.๒๗/๙๗๗]
ผิฉะนั้น บัดนี้ เราจะหลีกไปชายป่าตามความสบาย. ธรรมดา สหายผู้ตายแล้วเช่นนี้ไม่มี เราผู้มีชีวิตอยู่พึงได้สหาย (สหายท. อันเรา ผู้มีชีวิตอยู่ พึงหาได้)
(ในพระบาฬีนี้จะเห็นได้ว่า มีการแปลง โย ท้าย สขศัพท์ เป็น อา) ซึ่งวิธีการนี้ พึงทราบโดยนัยเดียวกับปุริสาทิคณะ.

สมาเส ปน สพฺพํ ปุริสาทิรูปํ ลพฺภติ, ‘‘สพฺพมิตฺโต สพฺพสโข, ปาปมิตฺโต ปาปสโข’’ติ [ที. นิ. ๓.๒๕๓] จ ปาฬิฯ ปาปสโข, ปาปสขา, ปาปสขํ, ปาปสเข, ปาปสเขน, ปาปสเขหิ, ปาปสเขภิเป.ปาปสขสฺมิํ, ปาปสขมฺหิ, ปาปสเข, ปาปสเขสุฯ
ส่วน สข ศัพท์ที่อยู่ในสมาส จะมีรูปเป็นปุริสาทิคณะทุกวิภัตติ ดังมีพระบาฬีนี้เป็นหลักฐาน
สพฺพมิตฺโต สพฺพสโข [ขุ.เถร.๒๖/๓๘๑)
เราได้เป็นมิตร  เป็นสหายของสัตว์ทั้งปวง
ปาปมิตฺโต ปาปสโข [ที.ปา.๑๑/๑๘๕]
คนมีมิตรชั่ว มีเพื่อนเลว มีมรรยาทและการเที่ยวชั่ว ย่อมเสื่อมจากโลกทั้งสอง

ปฐมาวิภัตติ
ปาปสโข เพื่อนเลว
ปาปสขา เพื่อนเลวท.

ทุติยาวิภัตติ
ปาปสขํ ซึ่งเพื่อนเลว
ปาปสเข ซึ่งเพื่อนเลวท.
ตติยาวิภัตติ
ปาปสเขน ด้วยเพื่อนเลว
ปาปสเขหิ, ปาปสเขภิ ด้วยเพื่อนเลวท.
(จตุตถีวิภัตติ, ปัญจมีวิภัตติ และ ฉัฏฐีวิภัตติ เหมือนปุริสาทิคณะ)
สัตตมีวิภัตติ
ปาปสขสฺมิํ, ปาปสขมฺหิ, ปาปสเข ในเพื่อนเลว
ปาปสเขสุ ในเพื่อนเลวท.

******************
ยุวาทิคณศัพท์
ยุว ศัพท์ (ชายหนุ่ม)
ยุวา คจฺฉติฯ
ปฐมาวิภัตติ
ยุวา คจฺฉติ ชายหนุ่ม เดินไป.

๑๕๓. โยนํ โนเน วา [ก. ๑๕๕, ๑๕๗; รู. ๑๓๗, ๑๔๐; นี. ๓๓๕, ๓๔๓]ฯ
โน เป็นอาเทสของโยปฐมา และเนเป็นอาเทสของโยทุติยา ท้ายยุวและปุมศัพท์เป็นต้น ได้บ้าง

ยุว, ปุมาทีหิ ปฐมา, ทุติยาโยนํ กเมน โน, เน โหนฺติ วาฯ
โน และ เน เป็นอาเทสของโยปฐมาและทุติยาวิภัตติท. อันเป็นเบื้องหลังจากศัพท์ท.มียุว และปุม เป็นต้น ตามลำดับ ได้บ้าง.

๑๕๔. โนนาเนสฺวา [ก. ๑๕๗; รู. ๑๔๐; นี. ๓๔๓]ฯ
เพราะโน นาและเน สระที่สุดของยุวเป็นต้นเป็น อา ได้บ้าง.

โน, นา, เนสุ ยุวาทีนํ อนฺโต อา โหติ วาฯ
ยุวาโน, ยุวานา, ยุวา, เห ยุว, เห ยุวา, เห ยุวาโน, เห ยุวา วา, ยุวานํ, ยุวํ, ยุวาเน, ยุเว, ยุเวน, ยุวานาฯ
เพราะโน (อาเทสของโยปฐมาวิภัตติ), นาวิภัตติ และเน (อาเทสของโยทุติยาวิภัตติ) สระที่สุดของศัพท์ท.มียุวเป็นต้น เป็น อา ได้บ้าง.
ยุวาโน, ยุวานา, ยุวา ชายหนุ่มท.

อาลปนวิภัตติ
เห ยุว, เห ยุวา ดูก่อนชายหนุ่ม
เห ยุวาโน, เห ยุวา วา  ดูก่อนชายหนุ่มท.

ทุติยาวิภัตติ
ยุวานํ, ยุวํ ซึ่งชายหนุ่ม
ยุวาเน, ยุเว ซึ่งชายหนุ่มท.

ตติยาวิภัตติ
ยุเวน, ยุวานา ด้วยชายหนุ่ม

๑๕๕. ยุวาทีนํ สุหิสฺวานง [ก. ๑๕๗; รู. ๑๔๐; นี. ๓๓๗-๙, ๓๔๓]ฯ
เพราะสุและหิวิภัตติ สระที่สุดของยุวและปุมเป็นต้น เป็น อาน ได้บ้าง.

ยุว, ปุมาทีนํ อนฺโต อานง โหติ วา สุ, หิสุฯ
ยุวาเนหิ, ยุเวหิ, ยุวาเนภิ, ยุเวภิ, ยุวสฺสฯ
เพราะสุและหิวิภัตติท. อันเป็นเบื้ัองหลัง สระที่สุดของยุวและปุมศัพท์เป็นต้น เป็น อาน ได้บ้าง.
ยุวาเนหิ, ยุเวหิ, ยุวาเนภิ, ยุเวภิ ด้วยชายหนุ่มท.

จตุตถีวิภัตติ
ยุวสฺส แก่ชายหนุ่ม

๑๕๖. ยุวา สสฺสิโน
ส ที่อยู่ท้ายยุว จะเป็น อิโน ได้บ้าง
ยุวโต สสฺส อิโน โหติ วาฯ
ยุวิโน, ยุวานํ, ยุวสฺมา, ยุวมฺหาฯ
อาเทสคืออิโน ของส อันเป็นเบื้องหลังจาก ยุวศัพท์ ย่อมมี ได้บ้าง.
ยุวิโน แก่ชายหนุ่ม.
ปัญจมีวิภัตติ
ยุวสฺมา, ยุวมฺหา จากชายหนุ่ม

๑๕๗. สฺมาสฺมิํนํ นาเน [ก. ๑๕๖-๗-๘; รู. ๑๔๐-๒-๓]ฯ
สฺมาและสฺมิํวิภัตติ ท้ายยุวและปุมเป็นต้น เป็น นา และ เน ตามลำดับ.

ยุว, ปุมาทีหิ สฺมา, สฺมิํนํ นา, เน โหนฺติ วาฯ โนนาเนสฺวาติ นามฺหิ อาตฺตํฯ
ยุวานา, ยุวาเนหิ, ยุวาเนภิ, ยุเวหิ, ยุเวภิ, ยุวสฺส, ยุวิโน, ยุวานํ, ยุวสฺมิํ, ยุวมฺหิ, ยุเว, ยุวาเน, ยุวาเนสุ, ยุเวสุฯ
รูปสิทฺธิยํ ปน ‘‘มฆว, ยุวาทีนมนฺตสฺส อานาเทโส โหติ วา สพฺพาสุ วิภตฺตีสู’’ติ [รู. ๑๔๐; นี. ๓๔๓] วุตฺตํฯ
นา และ เน เป็นอาเทส ของ สฺมาและสฺมิํวิภัตติที่อยู่เบื้องหลังจากยุวและปมาเป็นต้น ได้บ้าง. ในเพราะนา สระที่สุดของยุว เป็นอา ด้วยสูตรว่า โนนาเนสฺวา
ยุวานา จากชายหนุ่ม
ยุวาเนหิ, ยุวาเนภิ, ยุเวหิ, ยุเวภิ จากชายหนุ่มท.


ฉัฏฐีวิภัตติ
ยุวสฺส, ยุวิโน แห่งชายหนุ่ม
ยุวานํ แห่งชายหนุ่มท.

สัตตมีวิภัตติ
ยุวสฺมิํ, ยุวมฺหิ, ยุเว, ยุวาเน ในชายหนุ่ม
ยุวาเนสุ, ยุเวสุ ในชายหนุ่มท.

(กรณีที่ท้ายยุว เป็น อาน) ตามมติของคัมภีร์ปทรูปสิทธิที่ว่า “มฆว, ยุวาทีนมนฺตสฺส อานาเทโส โหติ วา สพฺพาสุ วิภตฺตีสุในเพราะวิภัตติทั้งปวงอันเป็นเบื้องหลัง อาเทสคืออาน ของสระที่สุดแห่งศัพท์มีมฆว และยุวเป็นต้น ย่อมมีได้บ้าง.

**************

ปุม ศัพท์ (ผู้ชาย)
ปุมา, ปุมาโน, เห ปุม, เห ปุมาฯ
ปฐมาวิภัตติ
ปุมา ผู้ชาย
ปุมาโน ผู้ชายท.

อาลปนวิภัตติ
เห ปุม, เห ปุมา  ดูก่อนผู้ชาย

๑๕๘. คสฺสํ [ก. ๑๕๓; รู. ๑๓๘; นี. ๓๓๓]ฯ
ท้ายปุมศัพท์ สิ ชื่อ ค เป็น อํ ได้บ้าง

ปุมโต คสฺส อํ โหติ วาฯ
เห ปุมํ, เห ปุมาโน, ปุมานํ, ปุมํ, ปุมาเน, ปุเมฯ
อํ เป็นอาเทสของ สิชื่อค ที่อยู่เบื้องหลังจากปุมศัพท์ ได้บ้าง.
เห ปุมํ ดูก่อนผู้ชาย
เห ปุมาโน ดูก่อนผู้ชายท.

ทุติยาวิภัตติ
ปุมานํ, ปุมํ ซึ่งผู้ชาย
ปุมาเน, ปุเม ซึ่งผู้ชายท.

๑๕๙. นามฺหิ [ก. ๑๕๙; รู. ๑๓๙; นี. ๓๔๐]ฯ
เพราะนา อา เป็นอาเทสของสระที่สุดแห่งปุมศัพท์ ได้บ้าง

นามฺหิ ปุมนฺตสฺส อา โหติ วาฯ
ปุมานา, ปุเมนฯ
เพราะนาวิภัตติอันเป็นเบื้องหลัง อา เป็นอาเทสของ สระที่สุดแห่งปุมศัพท์ ได้บ้าง

ตติยาวิภัตติ
ปุมานา, ปุเมน ด้วยผู้ชาย

๑๖๐. ปุมกมฺมถามทฺธานํ วา สสฺมาสุ จ [ก. ๑๕๗, ๑๕๙; รู. ๑๓๙, ๑๔๐; นี. ๓๓๘, ๑๔๐]ฯ
เพราะนา และเพราะส, สฺมาวิภัตติ สระที่สุดของศัพท์คือ ปุม, กมฺม, ถาม และอทฺธ เป็น อุ ได้บ้าง

นามฺหิ จ ส, สฺมาสุ จ ปุม, กมฺม, ถามทฺธานํ อนฺโต อุ โหติ วาฯ
ในเพราะนาวิภัตติ ด้วย, ในเพราะส และสฺมาวิภัตติ ด้วย สระที่สุดของศัพท์คือปุม, กมฺม, ถาม และอทฺธ เป็น อุ ได้บ้าง.

ปุมุนา, ปุมาเนหิ, ปุมาเนภิ, ปุเมหิ, ปุเมภิ, ปุมสฺส, ปุมุโน, ปุมานํ, ปุมสฺมา, ปุมมฺหา, ปุมานา, ปุมุนา, ปุมาเนหิ, ปุมาเนภิ, ปุเมหิ, ปุเมภิ, ปุมุโน, ปุมสฺส, ปุมานํ, ปุมสฺมิํ, ปุมมฺหิ, ปุเมฯ
ปุมุนา ด้วยผู้ชาย
ปุมาเนหิ, ปุมาเนภิ, ปุเมหิ, ปุเมภิ ด้วยผู้ชายท.

จตุตถีวิภัตติ
ปุมสฺส, ปุมุโน แก่ผู้ชาย
ปุมานํ แก่ผู้ชายท.

ปัญจมีวิภัตติ
ปุมสฺมา, ปุมมฺหา, ปุมานา, ปุมุนา จากผู้ชาย
ปุมาเนหิ, ปุมาเนภิ, ปุเมหิ, ปุเมภิ จากผู้ชาย

ฉัฏฐีวิภัตติ
ปุมุโน, ปุมสฺส แห่งผู้ชาย
ปุมานํ แห่งผู้ชายท.

สัตตมีวิภัตติ
ปุมสฺมิํ, ปุมมฺหิ, ปุเม ในผู้ชาย

๑๖๑. ปุมา [ก. ๑๕๖; รู. ๑๔๒; นี. ๓๓๖]ฯ
ท้ายปุมศัพท์ สฺมิํ เป็น เน ได้บ้าง.

ปุมโต สฺมิํโน เน โหติ วาฯ โนนาเนสฺวาติ ปุมนฺตสฺส อาตฺตํฯ ปุมาเนฯ
เน เป็นอาเทสของ สฺมิํ อันเป็นเบื้องหลังจาก ปุมศัพท์ ได้บ้าง. สระที่สุดของปุม เป็น อา ด้วยสูตร โนนาเนสฺว.
ปุมาเน ในผู้ชาย
๑๖๒. สุมฺหา จ [ก. ๑๕๘; รู. ๑๔๓; นี. ๓๓๙]ฯ
สระที่สุดของปุม เป็น อา และ อาเน เพราะมีสุวิภัตติเป็นเบื้องหลัง

สุมฺหิ ปุมนฺตสฺส อา จ โหติ อาเน จฯ
ปุมาเนสุ, ปุมาสุ, ปุเมสุฯ
เพราะสุวิภัตติ อา และ อาเน เป็นอาเทส ของสระที่สุดของปุมศัพท์.
ปุมาเนสุ, ปุมาสุ, ปุเมสุ ในผู้ชายท.

สิ, โยนํ ปุริสาทิวิธิ จ โหติ, ‘‘ยถา พลากโยนิมฺหิ, น วิชฺชติ ปุโม สทา [อป. เถร ๑.๑.๕๑๑], โสฬสิตฺถิสหสฺสานํ, น วิชฺชติ ปุโม ตทา [จริยา ๓.๔๙], อิตฺถี หุตฺวา สฺวชฺช ปุโมมฺหิ เทโว [ที. นิ. ๒.๓๕๔], ถิโย ตสฺส ปชายนฺติ, น ปุมา ชายเร กุเล’’ติ [ชา. ๑.๘.๕๔] ปาฬีฯ
สำหรับ สิ และโย ปฐมาวิภัตติ ใช้วิธีสำเร็จรูปของปุริสาทิคณะ (จึงมีรูปว่า ปุโม, ปุมา) ดังมีพระบาฬีเป็นหลักฐาน ดังนี้
ยถา พลากโยนิมฺหิ, น วิชฺชติ ปุโม[๓] สทา [ขุ.เถร.อป.๓๒/๘],
เปรียบเหมือนนกยางตัวผู้ ย่อมไม่มีในกำเนิดนกยางทุกเมื่อ[๔].

โสฬสิตฺถิสหสฺสานํ, น วิชฺชติ ปุโม ตทา [ขุ.จริยา ๓๓/๒๖],
ในกาลนั้น พระสนมนางในหมื่นหกพัน ไม่มีบุุรุษเลย

อิตฺถี หุตฺวา สฺวชฺช ปุโมมฺหิ เทโว [ที.ม.๑๐/๒๕๓],
เราเป็นสตรี วันนี้เป็นเทวบุตร[๕]

ถิโย ตสฺส ปชายนฺติ, ปุมา ชายเร กุเล [ขุ.ชา.๒๗/๑๑๖๘]
พระราชาพระองค์นั้นจะมีแต่พระธิดาเท่านั้นมาเกิด หามีพระโอรสมาเกิดในราชสกุลไม่[๖]

****************

มฆว ศัพท์ (ชื่อพระอินทร์)
มฆวสทฺโท ยุวสทฺทสทิโสติ รูปสิทฺธิยํ [รู. ๖๖] วุตฺตํ, คุณวาทิคณิโกติ สทฺทนีติยํ [นี. ปท. ๒๒๐] อิจฺฉิโตฯ อฆนฺติ ทุกฺขํ ปาปญฺจ วุจฺจติ, น อฆํ มฆํ, สุขํ ปุญฺญญฺจ, มโฆ อิติ ปุราณํ นามํ อสฺส อตฺถีติ มฆวาติ [สํ. นิ. ๑.๒๕๙] อตฺโถ ปาฬิยํ ทิสฺสติฯ
มฆวศัพท์ คัมภีร์ปทรูปสิทธิท่านกล่าวไว้ว่า เหมือนยุวศัพท์. แต่ในคัมภีร์สัททนีติ (ปทมาลา)ท่านอาจารย์อัคควังสะ ประสงค์ให้เป็นศัพท์ในคุณวาทิคณะ. มฆวศัพท์ มีความหมายโดยนัยที่ปรากฏในพระบาฬีสังยุตตนิกาย สคาถวรรค มหาลิสูตร  ว่า
อฆนฺติ ทุกฺขํ ปาปญฺจ วุจฺจติ, น อฆํ มฆํ, สุขํ ปุญฺญญฺจ, มโฆ อิติ ปุราณํ นามํ อสฺส อตฺถีติ มฆวา
ทุกข์และบาป เรียกว่า อฆ, ปฏิปักษ์ต่อทุกข์ และบาป เรียกว่า มฆ ได้แก่ สุข และบุญ. ชื่อเก่าว่า มฆะ (นายบุญสุข) มีอยู่ แก่ท้าวสักกะนี้ ฉะนั้น จึงชื่อว่า มฆวา ผู้มีชื่อเก่าว่า มฆะ. [๗]

************* 

ถาม ศัพท์ (เรี่ยวแรง)
ถามสทฺโท ปุริสาทิคโณ, ถาเมน, ถามุนา, ถามสฺส, ถามุโน, ถามสฺมา, ถามมฺหา, ถามา, ถามุนา, ถามสฺส, ถามุโนฯ เสสํ ปุริสสมํฯ
ถามศัพท์เป็นปุริสาทิคณะ
ตติยาวิภัตติ
ถาเมน, ถามุนา ด้วยเรี่ยวแรง

จตุตถีวิภัตติ
ถามสฺส, ถามุโน แก่เรี่ยวแรง

ปัญจมีวิภัตติ
ถามสฺมา, ถามมฺหา, ถามา, ถามุนา จากเรี่ยวแรง

ฉัฏฐีวิภัตติ
ถามสฺส, ถามุโน แห่งเรี่ยวแรง

วิภัตติที่เหลือ (ซึ่งไม่ได้กล่าวไว้) เหมือนปุริสศัพท์

*******************

อทฺธ ศัพท์ (กาล)
อทฺธา วุจฺจติ กาโลฯ นาทฺเยกวจเนสุ - ทีเฆน อทฺธุนา, อทฺธนา, อทฺเธน, ทีฆสฺส อทฺธุโน, อทฺธุสฺส, อทฺธสฺส, อทฺธุนา, อทฺธุมฺหา, อทฺธุสฺมา, อทฺธา, อทฺธมฺหา, อทฺธสฺมา, อทฺธุโน, อทฺธุสฺส, อทฺธสฺส, อทฺธนิ,              อทฺเธ, อทฺธมฺหิ, อทฺธสฺมินฺติ จูฬโมคฺคลฺลาเน อาคตํฯ เสสํ ยุวสทิสํฯ อุปทฺธวาจโก อทฺธสทฺโท อิธ น ลพฺภติ, เอกํสตฺถวาจโก จ นิปาโต เอวฯ ‘‘อทฺธานมคฺคปฺปฏิปนฺโน’’ติอาทีสุ อทฺธานสทฺโท ปน วิสุํ สิทฺโธ               นปุํสกลิงฺโควฯ

อทฺธศัพท์ มีความหมาย ๓
๑) อทฺธา เป็นชื่อของกาล (กาลเรียกว่า อทฺธา).
รูปในวิภัตติท.ฝ่ายเอกวจนะมีนาเป็นต้น มาในคัมภีร์จูฬโมคคัลลานะ (?) ดังนี้
ตติยาวิภัตติ
ทีเฆน อทฺธุนา, อทฺธนา, อทฺเธน ด้วยกาลยาวนาน

จตุตถีวิภัตติ
ทีฆสฺส อทฺธุโน, อทฺธุสฺส, อทฺธสฺส แก่กาลยาวนาน

ปัญจมีวิภัตติ
อทฺธุนา, อทฺธุมฺหา, อทฺธุสฺมา, อทฺธา, อทฺธมฺหา, อทฺธสฺมา จากกาล

ฉัฏฐีวิภัตติ
อทฺธุโน, อทฺธุสฺส, อทฺธสฺส แห่งกาล

สัตตมีวิภัตติ
อทฺธนิ, อทฺเธ, อทฺธมฺหิ, อทฺธสฺมิํ ในกาล

วิภัตติที่เหลือ เหมือนยุวศัพท์.

๒) อทฺธศัพท์ ที่กล่าวอรรถอุปทฺธ (กึ่งหนึ่ง) ไม่ใช้วิธีนี้,
๓) อทฺธศัพท์ ที่เป็นนิบาตกล่าวอรรถเอกังสะ (แน่นอน) ก็เช่นกัน.
แต่ อทฺธานศัพท์ ในพระบาฬีนี้ว่า อทฺธานมคฺคปฺปฏิปนฺโน (ดำเนินไปสู่หนทางไกล) เป็นนปุงสกลิงค์ ซึ่งสำเร็จรูป เป็นอีกพวกหนึ่งนั่นเทียว.

************

มุทฺธ ศัพท์ (ศีรษะ, ยอด)
มุทฺธสทฺเท ‘‘มุทฺธา เต ผลตุ สตฺตธา, มุทฺธา เม ผลตุ สตฺตธา’’ อิจฺจาทีสุ [ชา. ๑.๑๖.๒๙๕; ธ. ป. อฏฺฐ. ๑.ติสฺสตฺเถรวตฺถุ] สิโร วุจฺจติ, ‘‘ปพฺพตมุทฺธนิฏฺฐิโต’’ อิจฺจาทีสุ [ที. นิ. ๒.๗๐] มตฺถกํ วุจฺจติ, ตทุภยํ อิธ  ลพฺภติ, สฺมิํวจเน มุทฺธนีติ สิทฺธํ, เสสํ ยุวสมํฯ พาลวาจโก ปน ปุริสนโยฯ หตฺถมุฏฺฐิวาจโก อิตฺถิลิงฺโคฯ
ในมุทฺธศัพท์ (มี ๔ ความหมาย)
๑) มีความหมายว่า สิร (ศีรษะ) เช่น
มุทฺธา เต ผลตุ สตฺตธา [ขุ.ชา๒๗/๑๙๔๖]
ศีรษะของเจ้าจักแตกเป็นเจ็ดเสี่ยง

มุทฺธา เม ผลตุ สตฺตธา
ศีรษะของเราจักแตกเป็นเจ็ดเสี่ยง

๒) มีความหมายว่า มตฺถก (ที่สุด,ยอด) เช่น
ปพฺพตมุทฺธนิฏฺฐิโต
ผู้ที่ยืนอยู่ยอดภูเขาสิลาล้วน

สองความหมายนี้ใช้ได้ในยุวาทิคณะ แต่มีรูปสำเร็จต่างไปในสฺมิํวิภัตติ ดังนี้
มุทฺธนิ บนศีรษะ, บนยอด.
รูปในวิภัตติที่เหลือเหมือนยุวศัพท์.

๓) ที่มีความหมายว่า พาล (เขลา, อ่อน) เหมือนวิธีการสำเร็จรูปในปุริสศัพท์.
๔) ที่มีความหมายว่า หตฺถมุฏฺฐิ (กำมือ) เป็นอิตถีลิงค์.

*******************

(อสฺมา, อุสฺมา และ ภิสฺมา ศัพท์)
อสฺมา วุจฺจติ ปาสาโณ, อุสฺมา วุจฺจติ กายคฺคิ, ภิสฺมา วุจฺจติ ภยานโก มหากาโยฯ
อสฺมา ศัพท์ มี ๒ ความหมาย คือ ก้อนหิน, อุสฺมา ได้แก่ ไฟในกาย (ไออุ่น), ภิสฺมา หมายถึง สัตว์ที่มีรูปกายใหญ่ ซึ่งน่าหวาดกลัว (ยักษ์)

ตตฺถ อสฺมสทฺเท ‘‘ตํ เต ปญฺญาย ภินฺทามิ, อามํ ปกฺกํว อสฺมนา [สุ. นิ. ๔๔๕], มา ตฺวํ จนฺเท ขลิ อสฺมนี’’ติ ปาฬีฯ เสสํ ยุวสมํฯ อุสฺมา, ภิสฺมาสทฺทาปิ ยุวสทิสาติ วทนฺติฯ
บรรดา อสฺมา อุสฺมา  ภิสฺมา ศัพท์เหล่านั้น
อสฺมาศัพท์ รูปตติยาวิภัตติเป็น อสฺมนา และสัตตมีวิภัตติเป็น อสฺมนิ มีพระบาฬีเป็นหลักฐานดังนี้
ตติยาวิภัตติ
ตํ เต ปญฺญาย ภินฺทามิ, อามํ ปกฺกํว อสฺมนา[๘] [ขุ.สุ.๒๕/๓๕๕]
เราจะทำลายเสนาของท่านเสียด้วยปัญญาเหมือนบุคคลทำลายภาชนะดินทั้งดิบทั้งสุก ด้วยก้อนหิน

สัตตมีวิภัตติ
มา ตฺวํ จนฺเท ขลิ อสฺมนิ
ดูก่อนแม่จันทา ท่านอย่าพลั้งพลาดบนแผ่นหิน.[๙]

รูปวิภัตติที่เหลือเหมือนยุวศัพท์. แม้อุสฺมา และ ภิสฺมา อาจารย์ทั้งหลายกล่าวว่าเหมือนยุวศัพท์

จูฬโมคฺคลฺลาเน มุทฺธ, คาณฺฑีวธนฺว, อณิม, ลฆิมาทโย จ อสฺมสทิสาติ วุตฺตํฯ ยตฺถ สุตฺตวิธานํ น ทิสฺสติ, ตตฺถ มหาวุตฺตินา วา สุตฺตวิภตฺเตน วา รูปํ วิธิยติฯ
ศัพท์เหล่านี้ คือ มุทฺธ ศีรษะ, คาณฺฑีวธนฺว บุรุษมีธนูมีข้อมาก, อณิม มีกายเล็ก, ลฆิม (มีความเร็ว) เป็นต้น ท่านกล่าวไว้ในคัมภีร์จูฬโมคคลานะว่า เหมือนกับอสฺมศัพท์.ในรูปวิภัตติใด ที่ไม่ปรากฏวิธีการของสูตร, ในรูปวิภัตตินั้น ควรใช้วิธีการสำเร็จรูปด้วยมหาสูตรหรือวิธีการตัดแบ่งสูตร.
อิติ ราชาทิยุวาทิคณราสิฯ
อการนฺตปุลฺลิงฺคํ นิฏฺฐิตํฯ
กลุ่มคณศัพท์มีราชเป็นต้นและคณศัพท์มียุวเป็นต้น เป็นอย่างนี้
นามศัพท์ที่เป็นอการันต์ ปุงลิงค์ จบแล้ว.


[๑] แปลตามพยัญชนะว่า รูปอันเหมือนนา แห่งสฺมา ที่อยู่ข้างหลังจากพฺรหฺม อตฺต และอาตุมศัพท์ ย่อมมี. ส่วนปาฐะของโมคคัลลานไวยากรณ์เป็น สฺมาสฺส นา พฺรหฺมา จฯ พฺรหฺมา อตฺตอาตุเมหิ จ สฺมาสฺส นา โหติ, พฺรหฺมุนา, อตฺตนา, อาตุมนาฯ (๒/๑๙๖).  แปลงสฺมาท้ายพฺรหฺมศัพท์เป็นต้น เป็นนา. อาเทสคือนา แห่งสฺมาท้ายพฺรหฺม อตฺตและอาตุมศัพท์ท. ย่อมมี. พฺรหฺมุนา, อตฺตนา, อาตุมา
[๒] นนุ จ กจฺจายเนน สขสทฺทโต คสฺส อการอาการอีการเอการาเทสา วา วิธียนฺติ, ตถา หิ ตตฺถ “สขาโต คสฺเสวา”ติ สุตฺตํ, อิทเมวํ วิวรนฺติ “ตสฺมา สขาโต คสฺส อการอาการอิการอีการเอการาเทสา โหนฺติ วา”ติ.  ตโต อิห เอการสฺเสว วา วิธาเน สขิ, สขีติ น สิชฺฌตีติ โจทนํ มนสิ นิธาย ตทปิรูปทฺวยมิตฺถิยํ อญฺญถาว สิทฺธนฺติ ทสฺเสตุมาห “สขิ”จฺจาทิ. เอวมฺมญฺญเต “นทาทีสุ ปาฐา สขสทฺทโต อิตฺถิยมีปจฺจเย กเต สขีติ สิทฺธํ ”เค วา”ติ ๒/๖๕ ปกฺเข รสฺเส กเต สขิ อิติ จ, น จ อนิตฺถิยํ เอตานิ รูปานิ ทิสฺสนฺติ เตน อิอีอาเทสา น วิธาตพฺพา”ติ. (โมคฺ.ปญฺจิกา ๒/๖๐) สรุปความได้ว่า อาจารย์โมคคัลลานะไม่เห็นด้วยกับมติของอาจารย์กัจจายนะที่กล่าวว่า มีรูป โภ สขี, โภ สขี รวมอยู่กับ โภ สข โภ สขา โภ สเข (ดูสูตร สขโต คสฺเส วา กจฺ.๑๑๓) ท่านจึงกล่าวไว้ในวุตติของสูตร ฆพฺรหฺมาทิเตฺววา ไว้ว่า สขี และ สขิ สำเร็จรูปในอิตถีลิงค์เท่านั้น ซึ่งท่านอาจารย์โมคคคัลลานะให้ทัสนะว่า สองรูปนี้สำเร็จรูปโดยวิธีการอื่นไปแล้ว กล่าวคือ เมื่อลงอีอิตถิโชตกปัจจัยท้ายสข เป็น สขี ก็จะเป็นอิตถีลิงค์เท่านั้น ดังนั้น รูปอาลปนะว่าสิขี และมีรูปที่รัสสะว่า สิขิ ด้วยสูตรว่า เค วา (โมค.๒/๖๕ - เพราะคข้างหลัง สระที่สุดของอีเป็นรัสสะได้บ้าง) จะพบได้ในอิตถีลิงค์เท่านั้น  ด้วยเหตุนี้ ในปุงลิงค์ จึงไม่ควรนำวิธีแปลง เอ เป็น อี และอิ มาใช้ในปุงลิงค์ ซึ่งจะทำให้มีรูปว่า โภ สขี, โภ สขิ.
[๓] ฉบับสยามรัฐเป็น ปุมา (ยถา พลากโยนิมฺหิ,  น วิชฺชติ ปุมา  สทา) ส่วนฉบับฉัฏฐฯ เป็น ปุโม. แม้อรรถกถาอปทาน ก็มีปาฐะเป็น ปุมา (ตตฺถ พลากโยนิมฺหิ พลากชาติยํ สทา สพฺพสฺมิํ กาเล ปุมา ปุริโส ยถา น วิชฺชติฯ)  ดังนั้น ถ้ายึดตามฉบับฉัฏฐ. รูปว่า ปุโม จึงเป็นข้อยกเว้นของสูตรว่า ราชาทิยุวาทีหา สิ ท้าย ราช และ ยุวเป็นต้น เป็น อา จึงสำเร็จรูปโดยวิธีการของปุริสาทิคณะ. ถ้ายึดตามฉบับสยามรัฐและอรรถกถา ก็ไม่มีอะไรแปลกเป็นพิเศษ.
[๔] ปุโม แปลโดยอธิปเปตัตถนัย จึงหมายถึง นกยางตัวผู้
[๕] ปุโม ในที่นี้ แปลโดยอธิปเปตัตถนัย ซึ่งหมายถึง เทวดาผู้ชาย
[๖] ถิโยและปุมา ในที่นี้แปลโดยอธิปเปตัตถนัย ซึ่งหมายถึง พระธิดาและพระโอรส
[๗] พระบาฬีดังกล่าวดังนี้.  สกฺโก มหาลิ เทวานมินฺโท ปุพฺเพ มนุสฺสภูโต สมาโน มโฆ นาม มาณโว อโหสิ, ตสฺมา มฆวาติ วุจฺจติ. (สํ.ส.๑๕/๙๑๓) ดูกรมหาลี ท้าวสักกะจอมเทพเมื่อยังเป็นมนุษย์ในกาลก่อน เป็นมาณพชื่อว่ามฆะ เพราะเหตุนั้น จึงถูกเรียกว่า ท้าวมฆวา.
[๘] ปัจจุบันเป็น ตํ เต ปญฺญาย เภจฺฉามิ,  อามํ ปตฺตํว อสฺมนา ส่วนฉบับสยามรัฐเป็น ตนฺเต ปญฺญาย เวจฺฉามิ  อามํ ปกฺกํว อมฺหนา. ในที่นี้ถือเอาตามฉบับฉัฏฐสังคายนา.
[๙] ปาฐะนี้ไม่พบหลักฐานดังที่ท่านอ้างไว้ แต่มีพระบาฬีชาดกที่มีคำว่า อสฺมนิ เป็นตัวอย่างได้ คือ
อนฺธการติมิสายํ, ตุงฺเค อุปริปพฺพเต; สา มํ สณฺเหน มุทุนา, มา ปาทํ ขลิ ยสฺมนิ (ขุ.ชา.๒๗/๑๑๔๒ ฉบับสยามรัฐเป็น ขณิยฺสมนิ ในที่นี้ใช้บาฬีของฉบับฉัฏฐฯ) เมื่อความมืดตื้อปรากฏเบื้องบนภูเขาอันแข็งคม นางกินนรีนั้นได้กล่าวกะเราด้วยถ้อยคำอันไพเราะอ่อนหวานว่า ท่านอย่าพลั้งเท้าบนแผ่นหิน (ยสฺมนิ = ย + อสฺมนิ. ย เป็นพยัญชนอาคม).

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น