นปุํสกลิงฺคราสิ
อการนฺตนปุํสก
จิตฺตาทิราสิ
กลุ่มนามศัพท์นปุงสกลิงค์
กลุ่มนามศัพท์อการันต์
นปุงสกลิงค์ มีจิตฺต ศัพท์เป็นต้น
อถ
นปุํสกลิงฺคํ ทีปิยเตฯ ตํ ปน ปญฺจวิธํ อทนฺตํ, อิทนฺตํ อีทนฺตํ, อุทนฺตํ, อูทนฺตนฺติฯ
ต่อจากนี้ จะแสดงนปุงสกลิงค์. ก็ นปุงสกลิงค์นั้น มี
๕ แบบ คือ
๑) อเป็นที่สุด
๒) อิเป็นที่สุด ๓) อีเป็นที่สุด ๔)
อุเป็นที่สุด ๕) อูเป็นที่สุด.
ปฐมาวิภัติ
อํ เป็น
อาเทสของ สิ ท้าย อ ในนปุงสกลิงค์.
นปุํสเก
อโต สิสฺส อํ โหติฯ
จิตฺตํฯ
อํ เป็น
อาเทสของ สิ ท้าย อ ในนปุงสกลิงค์.
จิตฺตํ จิต.
๑๙๖. โยนํ นิ [ก. ๒๑๘; รู. ๑๙๖; นี. ๔๔๕]ฯ
นิ
เป็นอาเทสของ โย ท้าย อ ในนปุงสกลิงค์.
นปุํสเก
อโต โยนํ นิ โหติฯ ‘โยโลปนีสู’ติ นิมฺหิ ทีโฆฯ
จิตฺตานิฯ
นิ เป็นอาเทสของ
โย ท้าย อ ในนปุงสกลิงค์. เพราะ นิ รัสสสระ (อ) เป็น ทีฆะ ด้วยสูตร โยโลปนีสุ.
จิตตานิ
จิตท.
อา และ โอ
เป็น อาเทสของ นิ ท้าย อ ได้บ้าง.
อโต
นีนํ ฏา,
เฏ โหนฺติ วาฯ
จิตฺตา, เห จิตฺต, เห จิตฺตา, เห
จิตฺตานิ, เห จิตฺตา วา, จิตฺตํ,
จิตฺตานิ, จิตฺเต, จิตฺเตนฯ
อา และ โอ
เป็น อาเทสของ นิ ท้าย อ ได้บ้าง.
จิตฺตา จิตท.
อาลปนวิภัตติ
เห
จิตฺต,
เห จิตฺตา ดูก่อนจิต
เห
จิตฺตานิ,
หรือ เห จิตฺตา ดูก่อนจิต ท.
ทุติยาวิภัตติ
จิตฺตํ ซึ่งจิต
จิตฺตานิ,
จิตฺเต
ซึ่งจิตท.
ตติยาวิภัตติ
จิตฺเตน
ด้วยจิต
จิตฺเตหิ
จิตฺเตภิ
ด้วยจิตท.
เสสํ
ปุริสสมํฯ
รูปในวิภัตติที่เหลือ
เหมือน ปุริสศัพท์.
เอวํ ทกํ, อุทกํ, สุขํ,
ทุกฺขํ, มุขํ, องฺคํ,
ลิงฺคํ, สิงฺคํ, อฆํ,
สจฺจํ, นจฺจํ, รชฺชํ,
ปชฺชํ, อมฺพุชํ, ธญฺญํ,
ถญฺญํ, อรญฺญํ, ปุญฺญํ,
กิลิฏฺฐํ, ปิฏฺฐํ, ภณฺฑํ,
ตุณฺฑํ, ญาณํ, ตาณํ,
เลณํ, กรณํ, จรณํ,
ฉตฺตํ, เขตฺตํ, เนตฺตํ,
อมตํ,โสตํ, ปีฐํ,
วตฺถํ, ปทํ, คทํ,
อาวุธํ, กานนํ, ฆานํ,
ฌานํ, ทานํ, ธนํ,
วนํ, ปาปํ, ทุมํ,
หทยํ, จีรํ, จีวรํ,
กุลํ, มูลํ, พลํ,มงฺคลํ, ภิสํ, สีสํ, โลหํอิจฺจาทโยฯ
ศัพท์ต่อไปนี้เหมือน
จิตฺต ศัพท์ เช่น
อุทกํ น้ำ สุขํ
ความสุข ทุกฺขํ
ความทุกข์
มุขํ ปาก องฺคํ
อวัยวะ ลิงฺคํ
เพศ
สิงฺคํ เขาสัตว์ อฆํ ความเจ็บ สจฺจํ ความจริง
นจฺจํ การฟ้อนรำ รชฺช การย้อม ปชฺชํ
เท้า
อมฺพุชํ ดอกบัว ธญฺญํ ธัญญพืช ถญฺญํ น้ำนม
อรญฺญํ ป่า ปุญฺญํ บุญ กิลิฏฺฐํ เศร้าหมอง
ปิฏฺฐํ หลัง ภณฺฑํ สิ่งของ ตุณฺฑํ
ข้าวสาร
ญาณํ ความรู้ ตาณํ เครื่องต้าน เลณํ ถ้ำ
กรณํ เครื่องมือ จรณํ เท้า ฉตฺตํ ร่ม
เขตฺตํ นา เนตฺตํ
ตา อมตํ
นิพพาน
โสตํ หู ปีฐํ เตียง วตฺถํ
ผ้า
อาวุธํ อาวุธ คทํ เสียง ปทํ
บท
ฌานํ ฌาน กานนํ ละเมาะ ฆานํ จมูก
วนํ ป่า ธนํ ทรัพย์ ทานํ การให้
ทุมํ ต้นไม้ ปาปํ บาป หทยํ หัวใจ
จีรํ นาน จีวรํ
ผ้าจีวร กุลํ
ตระกูล
มูลํ โคนไม้ พลํ กำลัง มงฺคลํ มงคล
ภิสํ บัว สีสํ ศีรษะ โลหํ
โลหะ
ทกํ น้ำ
อิติ
จิตฺตาทิราสิฯ
กลุ่มนามศัพท์มีจิตฺตเป็นต้น
กมฺมาทิราสิ
กลุ่มนามศัพท์มีกมฺมเป็นต้น
กมฺมสทฺเท
–
ตติยาวิภัตติ
๑๙๘. นาสฺเสโน [ก. ๑๐๓; รู. ๗๙; นี. ๒๗๑]ฯ
เอโน
เป็นอาเทสของ นา หลังจากศัพท์ท.มีกมฺมเป็นต้น ได้บ้าง.
กมฺมาทีหิ
นาสฺส เอโน โหติ วาฯ
กมฺเมน, กมฺมนาฯ
เอโน
เป็นอาเทสของ นา หลังจากศัพท์ท.มีกมฺมเป็นต้น ได้บ้าง.
กมฺเมน,
กมฺมุนา
ด้วยกรรม
‘ปุมกมฺมถามทฺธาน’นฺติ สุตฺเตน นา, สฺมาสุ อุตฺตํ, กมฺมุนา, กมฺมสฺส, กมฺมุโน,
กมฺมสฺมา, กมฺมมฺหา, กมฺมนา,
กมฺมุนา, กมฺมสฺส, กมฺมุโนฯ
ในนาและสฺมา
วิภัตติ แปลง อ ท้าย กมฺม เป็น อุ ด้วยสูตรว่า ปุมกมฺมถามทฺธานํ
กมฺมุนา
ด้วยกรรม
จตุตถีวิภัตติ
กมฺมสฺส,
กมฺมุโน
แก่กรรม
ปัญจมีวิภัตติ
กมฺมสฺมา,
กามมฺหา, กมฺมนา, กมฺมุนา จากกรรม
ฉัฏฐีวิภัตติ
กมฺมสฺส,
กมฺมุโน
แห่งกรรม
นิ
เป็นอาเทสของ สฺมิํ หลังจาก กมฺมศัพท์เป็นต้น ได้บ้าง.
กมฺมาทีหิ
สฺมิํโน นิ โหติ วาฯ
กมฺมสฺมิํ, กมฺมมฺหิ, กมฺมนิ, กมฺเมฯ
นิ
เป็นอาเทสของ สฺมิํ หลังจาก กมฺมศัพท์เป็นต้น ได้บ้าง.
กมฺมสฺมิํ,
กมฺมมฺหิ, กมฺมนิ, กมฺเม ในกรรม
เสสํ
จิตฺตสมํฯ
รูปในวิภัตติที่เหลือ
แจกเหมือนจิตฺตศัพท์
กมฺม
จมฺม ฆมฺม อสฺม เวสฺม อทฺธ มุทฺธ อห พฺรหฺม อตฺต อาตุมา กมฺมาทิฯ กมฺมนิ, จมฺมนิฯ ‘‘กิํ ฉนฺโท กิมธิปฺปาโย, เอโก สมฺมสิ ฆมฺมนี’’ติ [ชา. ๑.๑๖.๑] จ ‘‘กิํ ปตฺถยํ มหาพฺรหฺเม, เอโก สมฺมสิ ฆมฺมนี’’ติ [ชา. ๑.๑๓.๘๓] จ ‘‘มา ตฺวํ จนฺเท ขลิ อสฺมนี’’ติ จ ‘‘ตมทฺทส มหาพฺรหฺมา, นิสินฺนํ
สมฺหิ เวสฺมนี’’ติ จ ทิสฺสนฺติฯ อทฺธนิ, มุทฺธนิ, อหนิ, พฺรหฺมนิ, อตฺตนิ, อาตุมนิ,
สพฺพเมตํ ปุพฺเพปิ วุตฺตเมว จฯ ตตฺถ ‘สมฺมสี’ติ อจฺฉสิ, ‘ฆมฺมนี’ติ
คิมฺหกาเล อาตเป วา, ‘อสฺมนี’ติ ปาสาเณ,
‘เวสฺมนี’ติ ฆเรฯ
ศัพท์ที่มีกมฺมศัพท์เป็นต้น
(เรียกว่า กมฺมาทิคณะ) คือ
กมฺม กรรม จมฺม หนัง, เกราะ ฆมฺม ความร้อน
อสฺม หิน เวสฺม บ้าน อทฺธ หนทาง
มุทฺธ ยอด อห วัน พฺรหฺม พรหม
อตฺต ตน อาตุมา ตนเอง
(ศัพท์ดังกล่าวมาพบความเหมือนกันในสัตตมีวิภัตติ
เช่น)
กมฺมนิ
ในกรรม จมฺมนิ ในเกราะ
อสฺม,
เวสฺม, ฆมฺม
ศัพท์ พบในพระบาฬีดังนี้
กึฉนฺโท
กิมธิปฺปาโย เอโก สมฺมสิ ฆมฺมนิ
กึ ปตฺถยาโน
กึ เอสํ เกน อตฺเถน พฺราหฺมณฯ [ขุ.ชา.๒๗/๒๒๘๕]
ดูกรพราหมณ์
ท่านมีความพอใจอะไร มีความประสงค์อะไร ปรารถนาอะไร แสวงหาอะไร ด้วยต้องการอะไร
จึงมานั่งอยู่แต่ผู้เดียวในเวลาร้อน?
อกิตฺตึ
ทิสฺวาน สมฺมนฺตํ สกฺโก ภูตปตี พฺรวิ
กึ ปตฺถยํ
มหาพฺรหฺเม เอโก สมฺมสิ ฆมฺมนิฯ [ขุ.ชา.๒๗/๑๘๐๖]
ท้าวสักกะผู้เป็นใหญ่แห่งภูต
ทรงเห็นอกิตติดาบสผู้ยับยั้งอยู่ จึงได้ตรัสถามว่า ดูกรพราหมณ์
ท่านปรารถนาสมบัติอะไร ถึงนั่งอยู่ผู้เดียวในถิ่นอันแห้งแล้ง (ตามศัพท์แปลว่า
ในถิ่นอันร้อนระอุ)?
มา
ตฺวํ จนฺเท ขลิ อสฺมนิ.
สฺวาธิปฺปาคา
ภารทฺวาโช ภทฺรการสฺส สนฺติกํ
ตมทฺทส
มหาพฺรหฺมา นิสินฺนํ สมฺหิ เวสฺมนิฯ [ขุ.ชา.๒๗/๒๓๕๘]
มหาพราหมณ์ผู้ภารทวาชโคตรนั้น
ได้ไปถึงสำนักของภัทรการะ เห็นท่านนั่งอยู่ในเรือนของตน.
อทฺธนิ
ในหนทาง มุทฺธนิ
บนยอด อหนิ ในวัน
พฺรหฺมนิ
ในพรหม อตฺตนิ ในตน อาตุมนิ
ในตัวเรา
แม้รูปวิภัตติทั้งหมด
ได้เคยกล่าวไว้แล้วในตอนต้น (ราชยุวาทิคณราสิ) เช่นกัน. อนึ่ง ในพระบาฬีอันเป็นอุทาหรณ์เหล่านั้น
บทว่า สมฺมสิ
ได้แก่ อจฺฉสิ แปลว่า ย่อมนั่ง
บทว่า ฆมฺมนิ
ได้แก่ คิมฺหกาเล ในฤดูร้อน, อาตาเป หรือ ในความร้อน
บทว่า อสฺมนิ
ได้แก่ ปาสาเณ บนแผ่นหิน
บทวา เวสฺมนิ ได้แก่ ฆเร ในเรือน
อิติ
กมฺมาทิราสิฯ
กลุ่มนามศัพท์มีกมฺมเป็นต้น
เป็นอย่างนี้
คุณวนฺตุ
ศัพท์
๒๐๐. อํ นปุํสเก [ก. ๑๒๕; รู. ๑๙๘; นี. ๓๐๐;
‘อํงํ นปุํสเก’ (พหูสุ)?]ฯ
เพราะสิ อํ เป็นอาเทสของ
นฺตุศัพท์ ในนปุงสกลิงค์ ได้บ้าง
นปุํสเก
สิมฺหิ นฺตุสฺส อํ โหติ วาฯ สิโลโปฯ
คุณวํ กุลํฯ
เพราะสิ อํ
เป็นอาเทสของ นฺตุศัพท์ ในนปุงสกลิงค์ ได้บ้าง. (สำเร็จรูปเป็น คุณวํ)
คุณวํ กุลํ
ตระกูล ซึ่งมีคุณ.
ปกฺเข
–
ในส่วนแห่งรูป
สิมฺหิ
มหาวุตฺตินา นฺตุสฺส อนฺโต อ โหติ, ตโต สิสฺส อํ โหติ,
คุณวนฺตํ กุลํฯ
เพราะ สิ
อันเป็นเบื้องหลัง สระที่สุดของ นฺตุ เป็น อ ด้วยมหาสูตร, และ อํ เป็นอาเทสของ สิ
หลัง จาก อ (สำเร็จรูปเป็น คุณวนฺตํ) [๒]
คุณวนฺตํ
กุลํ
ตระกูลซึ่งมีคุณ
‘ยฺวาโท นฺตุสฺสา’ติ ยฺวาทีสุ นฺตุสฺสนฺตสฺส อตฺตํ,
คุณวนฺตานิ, คุณวนฺตา, เห
คุณว, เห คุณวา, เห คุณวนฺตานิ,
เห คุณวนฺตา, คุณวํ, คุณวนฺตํ,
คุณวนฺตานิ, คุณวนฺเต, คุณวนฺเตน,
คุณวตา กุเลนฯ
สระที่สุดของ
นฺตุ เป็น อ ในเพราะ โย วิภัตติเป็นต้น ด้วยสูตร ๑๒๐. ยฺวาโท นฺตุสฺส ฯ(เพราะ
โยเป็นต้น นฺตุ แปลง เป็น อ). สำเร็จรูปเป็น
อาลปนวิภัตติ
เห
คุณว,
เห คุณวา ดูก่อนตระกูล ซึ่งมีคุณ
เห
คุณวนฺตานิ,
เห คุณวนฺตา ดูก่อนตระกูลท. ซึ่งมีคุณ
ทุติยาวิภัตติ
คุณวํ, คุณวนฺตํ ซึ่งตระกูล ซึ่งมีคุณ
คุณวนฺตานิ, คุณวนฺเต ซึ่งตระกูลท. ซึ่งมีคุณ
ตติยาวิภัตติ
คุณวนฺเตน, คุณวตา กุเลน ด้วยตระกูล
สพฺพํ
ปุลฺลิงฺคสมํ.
รูปในวิภัตติที่เหลือ
เหมือนปุงลิงค์.
สติมนฺตุ
ศัพท์
สติมํ
กุลํ,
สติมนฺตํ กุลํ อิจฺจาทิ ฯ
สติมนฺตุ
ศัพท์ เช่น
สติมํ
กุลํ, สติมนฺตํ กุลํ ตระกูล อันมีสติ
คจฺฉนฺต
ศัพท์
คจฺฉํ
กุลํ,
คจฺฉนฺตํ กุลํ, คจฺฉนฺตานิ กุลานิ อิจฺจาทิฯ
คจฺฉนฺตศัพท์
เช่น
คจฺฉํ
กุลํ,
คจฺฉนฺตํ กุลํ ตระกูล กำลังไป
คจฺฉนฺตานิ
กุลานิ ตระกูลท. กำลังไป
อิติ
อการนฺตนปุํสกราสิฯ
กลุ่มนามศัพท์
อการันต์ นปุงสกลิงค์ เป็นอย่างนี้
อิการนฺตนปุํสกราสิ
กลุ่มนามศัพท์
อิการันต์ นปุงสกลิงค์
อฏฺฐิ
ศัพท์ (กระดูก)
ปฐมาวิภัตติ
อฏฺฐิ
ติฏฺฐติ,
อฏฺฐี ติฏฺฐนฺติฯ
อฏฺฐิ
ติฏฺฐติ
กระดูก ย่อมตั้งอยู่
อฏฺฐี
ติฏฺฐนฺติ
กระดูกท. ย่อมตั้งอยู่
นิ เป็นอาเทส
ของ โย ท้าย อิ อี ชื่อ ฌ และ อุ อู ชื่อ ล ในนปุงสกลิงค์ ได้บ้าง.
นปุํสเก
ฌ,
ลโต โยนํ นิ โหติ วาฯ ‘โยโลปนีสู’ติ ทีโฆฯ
อฏฺฐีนิ,
เห อฏฺฐิ, เห อฏฺฐี, เห
อฏฺฐีนิ, เห อฏฺฐี วา, อฏฺฐิํ, อฏฺฐินํ, อฏฺฐีนิ, อฏฺฐี,
อฏฺฐินา, อฏฺฐีหิ, อฏฺฐีภิฯ
นิ เป็นอาเทส
ของ โย ท้าย อิ อี ชื่อ ฌ และ อุ อู ชื่อ ล ในนปุงสกลิงค์ ได้บ้าง. ทีฆะ อิ เป็น อี ด้วยสูตร (๙๑) โยโลปนีสุ (ในลิงค์ทั้งสาม
เมื่อโยถูกลบและแปลงเป็นนิแล้ว รัสสสระเป็นทีฆะ)
อฏฺฐีนิ
กระดูกท.
อาลปนวิภัตติ
เห
อฏฺฐิ,
เห อฏฺฐี ดูก่อนกระดูก
เห
อฏฺฐีนิ,
เห อฏฺฐี ดูก่อนกระดูกท.
ทุติยาวิภัตติ
อฏฺฐิํ, อฏฺฐินํ ซึ่งกระดูก
อฏฺฐีนิ, อฏฺฐี ซึ่งกระดูกท.
ตติยาวิภัตติ
อฏฺฐินา ด้วยกระดูก
อฏฺฐีหิ, อฏฺฐีภิ ด้วยกระดูกท.
เสสํ มุนิสมํฯ
รูปในวิภัตติที่เหลือ
เหมือน มุนิศัพท์.
สมาเสปิ
สมฺมาทิฏฺฐิ กุลํ,
สมฺมาทิฏฺฐีนิ กุลานิ อิจฺจาทิ, โยนํ โน,
เน นตฺถิฯ สฺมิํมฺหิ สมฺมาทิฏฺฐิสฺมิํ, สมฺมาทิฏฺฐิมฺหิ,
สมฺมาทิฏฺฐินิ, สมฺมาทิฏฺฐิเน กุเล, อริยวุตฺติเน กุเล อิติ วตฺตพฺพํฯ
ในสมาส
ก็มีรูปเช่นนี้ เช่น
สมฺมาทิฏฺฐิ
กุลํ
ตระกูล อันมีความเห็นชอบ
สมฺมาทิฏฐีนิ
กุลานิ
ตระกูลท. อันมีความเห็นชอบ
(ในโย) ไม่มีการแปลง
โย เป็น โน และ เน.[๔]
ส่วนในสฺมิํ ควรกล่าวอย่างนี้่ได้ว่า
สมฺมาทิฏฺฐิสฺมิํ,
สมฺมาทิฏฺฐินิ, สมฺมาทิฏฺฐิเน กุเล ในตระกูลมีความเห็นถูก
อริยวุตฺติเน
กุเล
ในตระกูล มีความประพฤติประเสริฐ
เอวํ
อกฺขิ,
อจฺฉิ, สตฺถิ, ทธิ,
วาริ อิจฺจาทโยฯ
ศัพท์ต่อไปนี้
เหมือน อฏฺฐิ ศัพท์
อกฺขิ ตา อจฺฉิ ดวงตา สตฺถิ
ต้นขา ทธิ นมส้ม วาริ น้ำ
อิติ
อิการนฺตนปุํสกราสิฯ
กลุ่มนามศัพท์อิการันต์
นปุงสกลิงค์ เป็นอย่างนี้
อีการนฺตนปุํสกราสิ
กลุ่มนามศัพท์
อีการันต์ นปุงสกลิงค์
ปฐมาวิภัตติ
อีการนฺเต
‘เอกวจนโยสฺวโฆน’นฺติ สุตฺเตน สิมฺหิ รสฺโส, ทณฺฑิ กุลํ, ทณฺฑีนิ กุลานิ, โยนํ
โลเป ทณฺฑีฯ
ในอีการันต์
เพราะสิ รัสสะอี ด้วยสูตร เอกวจนโยสฺวโฆนํ
ทณฺฑิ
กุลํ
ตระกูล ผู้มีไม้เท้า
ทณฺฑีนิ
กุลานิ
ตระกูลท. ผู้มีไม้เท้า
โยวิภัตติ
เมื่อลบ โย ทีฆะเป็น ทณฺฑี
‘เค วา’ติ รสฺโส, เห ทณฺฑิ,
เห ทณฺฑี วา, เห ทณฺฑีนิ, เห ทณฺฑี, ทณฺฑิํ, ทณฺฑินํ,
ทณฺฑีนิ, ทณฺฑี, ทณฺฑินา,
ทณฺฑีหิ, ทณฺฑีภิฯ
อาลปนวิภัตติ
รัสสะด้วยสูตร
เค วา
เห
ทณฺฑิ,
เห ทณฺฑี ดูก่อนตระกูล ผู้มีไม้เท้า
เห
ทณฺฑีนิ,
เห ทณฺฑี ดูก่อนตระกูลท. ผู้มีไม้เท้า
ทุติยาวิภัตติ
ทณฺฑิํ, ทณฺฑินํ ซึ่งตระกูล ผู้มีไม้เท้า
ทณฺฑีนิ, ทณฺฑี ซึ่งตระกูล ท. ผู้มีไม้เท้า
ตติยาวิภัตติ
ทณฺฑินา ด้วยตระกูล ผู้มีไม้เท้า
ทณฺฑีหิ, ทณฺฑีภิ ด้วยตระกูล ท. ผู้มีไม้เท้า
ปุลฺลิงฺคสมํฯ
รูปในวิภัตติที่เหลือ
เหมือนในปุงลิงค์.
สมาเสปิ
สีฆยายิ จิตฺตํ,
สีฆยายีนิ, สีฆยายี, เห
สีฆยายิ, เห สีฆยายี วา, เห สีฆยายีนิ,
เห สีฆยายี, สีฆยายิํ, สีฆยายินํ,
สีฆยายีนิ อิจฺจาทิฯ
แม้ในสมาส
ก็เหมือนกัน เช่น
สีฆยายิ
จิตฺตํ
จิต ที่ไปอย่างรวดเร็ว
สีฆยายีนิ, สีฆยายี จิตท. ที่ไปอย่างรวดเร็ว
อาลปนวิภัตติ
เห
สีฆยายิ,
เห สีฆยายี ดูก่อนจิต ที่ไปอย่างรวดเร็ว
เห
สีฆยายีนิ,
เห สีฆยายี ดูก่อนจิต ท.ที่ไปอย่างรวดเร็ว
ทุติยาวิภัตติ
สีฆยายิํ, สีฆยายินํ ซึ่งจิต ที่ไปอย่างรวดเร็ว
สีฆยายีนิ
ซึ่งจิตท.
ที่ไปอย่างรวดเร็ว
เอวํ
สุขการิ ทานํ,
จกฺกี, ปกฺขี, สุขี,
สิขี อิจฺจาทโย กุลสมฺพนฺธิโน จ เวทิตพฺพาฯ
ศัพท์ต่อไปนี้
และศัพท์ท.ที่มีความเกี่ยวข้องกับ กุล [๕]เหมือน
ทณฺฑี เช่น
สุขการิ
(ทานํ) ทาน
ที่ให้ผลเป็นความสุข.
จกฺกี ตระกูลมีจักร
ปกฺขี
ตระกูลมีพวกพ้อง
สุขี
ตระกูลมีความสุข
สิขี ตระกูลมียอด
อิติ
อีการนฺตนปุํสกราสิฯ
กลุ่มนามศัพท์
อีการันต์ นปุงสกลิงค์ เป็นอย่างนี้
อุการนฺตนปุํสกราสิ
อายุ ติฏฺฐติ, ‘ฌลา วา’ติ
โยนํ นิตฺเต โลเป จ ทีโฆ, อายูนิ, อายู,
เห อายุ, เห อายู, เห
อายูนิ, เห อายู, อายุํ, อายุนํ, อายูนิ, อายูฯ
อายุศัพท์
ปฐมาวิภัตติ
อายุ
ติฏฺฐติ อายุ
ตั้งอยู่
เมื่อโย แปลงเป็น
นิ ด้วยสูตร (๒๐๑).
ฌลา วา (นิ เป็นอาเทส ของ โย ท้าย อิ
อี ชื่อ ฌ และ อุ อู ชื่อ ล ในนปุงสกลิงค์ ได้บ้าง). และ เมื่อลบ โย แล้ว ทีฆะสระที่สุดของ
อายุ.
อายูนิ,
อายู อายุท.
อาลปนวิภัตติ
เห
อายุ, เห อายู
ดูก่อนอายุ
เห
อายู, เห อายูนิ ดูก่อนอายุท,
ทุติยาวิภัตติ
อายุํ,
อายุนํ
ซึ่งอายุ
อายูนิ
อายู
ซึ่งอายุท.
เสสํ
ภิกฺขุสมํฯ
รูปวิภัตติที่เหลือเหมือนภิกฺขุศัพท์
อายุสทฺโท
ปุลฺลิงฺเคปิ วตฺตติ, ‘‘ปุนรายุ จ เม ลทฺโธ [ที. นิ. ๒.๓๖๙], อายุญฺจ
โว กีวตโก นุ สมฺม [ชา. ๑.๑๕.๒๐๕],
อายุ นุ ขีโณ มรณญฺจ สนฺติเก, น จายุ ขีโณ มรณญฺจ
ทูเร’’ติ ปาฬิปทานิฯ
อายุศัพท์
ย่อมเป็นไปแม้ในปุงลิงค์, มีพระบาฬีเป็นหลักฐานดังนี้
ปุนรายุ จ เม
ลทฺโธ
[ที.ม.๑๐/๒๖๔],
เราได้ชีวิตใหม่แล้ว.[๖]
อายุญฺจ
โว กีวตโก นุ สมฺม
[ขุ.ชา.๒๗/๒๑๕๙],
ดูกรสหาย อายุของพวกท่านมีประมาณเท่าไร
อายุ
จะสิ้นไป, หรือ ความตายมาอยู่ใกล้.
อายุ
ยังไม่สิ้นไป ความตายยังอยู่อีกไกล.
เอวํ
จกฺขุ,
หิงฺคุ, สิคฺคุ, ชตุ,
วตฺถุ, มตฺถุ, มธุ,
ธนุ, ติปุ, ทารุ,
วสุ, อสฺสุ อิจฺจาทโยฯ
ศัพท์ต่อไปนี้เหมือนอายุศัพท์
เช่น
จกฺขุ
นัยน์ตา หิงฺคุ
มหาหิงคุ์ สิคฺคุ
มะรุม
ชตุ
ครั่ง วตฺถุ วัสดุ มตฺถุ เปรียง
มธุ
น้ำผึ้ง ธนุ
ธนู ติปุ
ดีบุก
ทารุ ฟืน วสุ
ทรัพย์ อสฺสุ
น้ำตา
๒๐๒. อมฺพาทีหิ [ก. ๒๑๗; รู. ๑๙๙; นี. ๔๔๔;
‘อมฺพาทีหิ’ (พหูสุ)]ฯ
สฺมิํ ท้าย
อมฺพุ และ ปํสุ เป็นต้น เป็น นิ ได้บ้าง.
อมฺพุ, ปํสุอิจฺจาทีหิ สฺมิํโน นิ โหติ วาฯ
ผลํ
ปตติ อมฺพุนิ,
ปุปฺผํ ยถา ปํสุนิ อาตเป คตํฯ
นิ เป็น
อาเทสของ สฺมิํ ท้าย อมฺพุ และ ปํสุ เป็นต้น ได้บ้าง เช่น
ยงฺกิญฺจิ
อุภโต ตีเร ผลํ ปตติ อมฺพุนิ [ขุ.ชา.๒๗/๒๒๘๗]
ผลไม้ชนิดใดชนิดหนึ่งที่ฝั่งทั้งสองตกลงในน้ำแล้วผล
ย่อมตกไป ในน้ำ
ปุปฺผํ
ยถา ปํสุนิ อาตเป คตํฯ [ขุ.ชา.๒๗/๔๗๘]
ดุจดอกไม้ที่ทิ้งตากแดดไว้ที่ทรายร้อนระอุ
ฉะนั้น.
เสสํ
อายุสมํฯ
รูปในวิภัตติที่เหลือ
เหมือนอายุศัพท์
จิตฺรคุ, วหคุ, ทิคุ อิจฺจาทโยปิ อุการนฺตปกติกา เอวาติฯ
แม้ศัพท์เหล่านี้
คือ จิตฺรคุ โคด่าง, วหคุ กาลที่นำโคไป, ทิคุ โคสองตัว
เป็นอุการันต์ตามปกตินั่นเทียว ดังนี้แล.
อิติ
อุการนฺตนปุํสกราสิฯ
กลุ่มนามศัพท์
อุการันต์ นปุงสกลิงค์ เป็นอย่างนี้.
อูการนฺตนปุํสกราสิ
กลุ่มนามศัพท์
อูการันต์ นปุงสกลิงค์
สิมฺหิ
รสฺโส,
โคตฺรภุ ญาณํ, โคตฺรภูนิ, โคตฺรภู, เห โคตฺรภุ, เห โคตฺรภู,
เห โคตฺรภูนิ, เหโคตฺรภู, โคตฺรภุํ, โคตฺรภุนํ, โคตฺรภูนิ,
โคตฺรภูฯ เสสํ ปุลฺลิงฺคสมํฯ เอวํ สยมฺภุ ญาณํ, อภิภุ ฌานํ อิจฺจาทิฯ
ปฐมาวิภัตติ
ในเพราะ สิ
รัสสะเป็น อุ เช่น
โคตฺรภุ
ญาณํ
โคตรภูญาณ
โคตฺรภูนิ
โคตรภูญาณท.
อาลปนวิภัตติ
เห
โคตฺรภุ, เห โคตฺรภู ดูก่อนโคตรภูญาณ
เห
โคตฺภูนิ, เห โคตฺรภู ดูก่อนโคตรภูญาณท.
ทุติยาวิภัตติ
โคตฺรภุํ,
โคตฺรภุนํ
ซึ่งโคตรภูญาณ
โคตฺรภูนิ,
โคตฺรภู
ซึ่งโคตรภูญาณท.
รูปในวิภัตติที่เหลือ
เหมือน (อูการันต์) ปุงลิงค์.
ศัพท์เหล่านี้เหมือน
โคตฺรภู เช่น
สยมฺภู
ญาณํ ญาณเป็นเหตุรู้เอง
อิติ
อูการนฺตนปุํสกราสิฯ
นปุํสกลิงฺคราสิ
นิฏฺฐิโตฯ
กลุ่มนามศัพท์อูการันต์
นปุงสกลิงค์
กลุ่มนามศัพท์นปุงสกลิงค์
จบแล้ว.
[๑] ปาฐะนี้ไม่พบหลักฐานดังที่ท่านอ้างไว้ แต่มีพระบาฬีชาดกที่มีคำว่า อสฺมนิ
เป็นตัวอย่างได้ คือ
อนฺธการติมิสายํ, ตุงฺเค อุปริปพฺพเต; สา มํ สณฺเหน มุทุนา, มา ปาทํ ขลิ ยสฺมนิ (ขุ.ชา.๒๗/๑๑๔๒
ฉบับสยามรัฐเป็น ขณิยฺสมนิ ในที่นี้ใช้บาฬีของฉบับฉัฏฐฯ) เมื่อความมืดตื้อปรากฏเบื้องบนภูเขาอันแข็งคม
นางกินนรีนั้นได้กล่าวกะเราด้วยถ้อยคำอันไพเราะอ่อนหวานว่า
ท่านอย่าพลั้งเท้าบนแผ่นหิน (ยสฺมนิ = ย + อสฺมนิ. ย เป็นพยัญชนอาคม).
[๒] คือ
ในขั้นต้น เพราะสิ แปลง อุ ของ นฺตุ เป็น อ = คุณวนฺต ด้วยมหาสูตร, จากนั้น แปลง สิ เป็น อํ
ด้วยสูตร อํ นปุงฺสเก ตามระเบียบของอการันต์นปุงสกลิงค์.
[๓] คือ ในขั้นต้น เพราะ โย แปลง อุ ของ
นฺตุ เป็น = คุณวนฺต ด้วยสูตร ยฺวาโท นฺตุสฺส ในปุงลิงค์, จากนั้น แปลง โย เป็น นิ
ด้วยสูตร โยนํ นิ ทีฆะสระที่สุด ด้วยสูตร โย โลปนีสุ สำเร็จรูปเป็น คุณวนฺตานิ,
ส่วนอีกรูปหนึ่ง ถ้าไม่ทำทีฆะ แปลง นิ ท้าย อ การันต์ เป็น อา ด้วยสูตร นีนํ วา สำเร็จรูปเป็น คุณวนฺตาแปลง
[๔] คือ
ไม่มีรูปว่า สมฺมาทิฏฺฐิโน กุลานิ ตระกูลท.
ที่มีความเห็นถูก, สมฺมาทิฏฺฐิเน กุลานิ ซึ่งตระกูลท. ที่มีความเห็นถูก
ซึ่งต่างจากปุงลิงค์ เช่น สมฺมาทิฏฺฐิโน ชนา ชนท. ผู้มีความเห็นถูก , อริยวุตฺติเน ชเน
ซึ่งชนท. ผู้มีความประพฤติประเสริฐ. (ดูในอิการันตปุงลิงค์)
[๖] ตัวอย่างเหล่านี้
ให้สังเกตที่กิริยา เช่น ลทฺโธ, ขีโณ ที่เป็นอการันต์ โดยมีการแปลง สิ เป็น โอ
ซึ่งเป็นลักษณะที่บ่งความเป็นปุงลิงค์. ส่วนบางตัวอย่างให้สังเกตวิเสสนะ เช่น
กีวตโก ที่แปลง สิ เป็น โอ เช่นกัน.
อหํ ปุเร
สคฺคคโต รมามิ นจฺเจหิ คีเตหิ จ วาทิเตหิ
โสทานิ อชฺช น
รมามิ สคฺเค อายุนฺนุ ขีณํ*
มรณนฺนุ สนฺติเก
อุทาหุ
มุโฬฺหสฺมิ ชนินฺทเสฏฺฐํ ฯ [ขุ.๒๗/๑๙๙๖]
(รูปว่า อายุนฺนุ ขีณํ* ฉบับฉัฏฐสังคายนา เป็น
อายุํ นุ ขีโณ)
ข้าแต่พระองค์ผู้ประเสริฐกว่าจอมเทพ
เมื่อก่อนหม่อมฉันมาถึงสวรรค์แล้ว
ย่อมยินดีด้วยการฟ้อนรำขับร้องและเครื่องประโคมทั้งหลาย
บัดนี้หม่อมฉันไม่ยินดีอยู่ในสวรรค์เลย จะหมดอายุ หรือใกล้จะตาย
หรือว่าหม่อมฉันหลงใหลไป?
ด้วยหลักฐานดังกล่าวมานี้แสดงว่า
อายุ ศัพท์ ในคาถานี้ ไม่ใช่ปุงลิงค์ แต่เป็นนปุงสกลิงค์. อนึ่ง แม้ฉบับฉัฏฐฯ
จะเป็น ขีโณ แต่มิได้หมายความว่า จะเป็นปุงลิงค์ เพราะในอรรถกถาได้แก้เป็น อายุํ
เป็น ชีวิตินฺทฺริยํ และ แก้ ขีโณ เป็น ขีณํ
[๘] แม้ตัวอย่างนี้ก็เช่นกัน
พบรูปว่า อายุ ขีณํ แสดงว่า เป็นนปุงสกลิงค์.
น ตายุ ขีณํ
มรณญฺจ ทูเร น จาปิ มุโฬฺห นรวีร เสฏฺฐ
ตุยฺหญฺจ
ปุญฺญานิ ปริตฺตกานิ เยสํ
วิปากํ อิธ เวทยิตฺโถ ๔
[ขุ.๒๗/๑๙๙๗]
ข้าแต่พระองค์ผู้แกล้วกล้ากว่านรชน
ผู้ประเสริฐ พระชนมายุของพระองค์ยังไม่หมดสิ้น ความสิ้นพระชนม์ก็ยังห่างไกล.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น