๕. ตทฺธิต
|
๕. ตัทธิตกัณฑ์
|
ตทฺธิตวุตฺติ
นาม วิจิตฺรา โหติ,
สาติสเยน วิจิตฺรญาณหิตํ วหติ, ตสฺมา เตสํ
เตสํ กุลปุตฺตานํ หิตนฺติ ตทฺธิตํ, อิมสฺมิํ
กณฺเฑ สพฺพวิธานสฺส นามํฯ ตํ ปน อฏฺฐวิธํ โหติ อปจฺจํ, อเนกตฺถํ,
อสฺสตฺถิ, ภาวกมฺมํ, ปริมาณํ,
สงฺขฺยา, ขุทฺทกํ, นานาตฺตนฺติฯ
|
จะแสดงวิธีการลงปัจจัยตัทธิตต่อไป.
ธรรมดาว่า การลงปัจจัยตัทธิต
มีความวิจิตรพิศดาร, ศัพท์ที่มีชื่อว่า ตัทธิต อันเป็นชื่อของวิธีทั้งปวง
ในกัณฑ์นี้ เพราะมีความหมายว่า นำไปซึ่งความรู้ที่เกื้อกูล[๑]ต่อญาณวิจิตรอย่างดีเยี่ยม,
เหตุนั้น จึงเป็นศัพท์เกื้อกูลต่อกุลบุตรเหล่านั้น[๒].
ตัทธิตมี ๘ อย่าง คือ อปัจจะ อเนกัตถะ อัสสัตถิ ภาวกัมมะ ปริมาณะ สังขยา ขุททกะ และนานาตตะ. |
วันพุธที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
ตัทธิตกัณฑ์ ๑ อปัจจราสิ
สมาสกัณฑ์ ๑๐ - วิเสสวิธาน จ - สังขยา จบ สมาสกัณฑ์
สงฺขฺยาราสิ
|
สังขยาราสิ
กลุ่มนามศัพท์ที่เข้าสมาสกับสังขยาศัพท์
|
บัดนี้
จะกล่าวถึงกลุ่มนามศัพท์ที่เข้าสมาสกับสังขยาศัพท์.
|
|
๔๑๔. วิธาทีสุ ทฺวิสฺส ทุ[๑] ฯ
วิธาทีสุ ปเรสุ ทฺวิสฺส ทุ โหติฯ
ทฺเว วิธา ปการา ยสฺสาติ ทุวิโธ, ทฺเว ปฏฺฏานิ ยสฺสาติ ทุปฏฺฏํ, จีวรํ, ทุวงฺคิกํ, ฌานํ
อิจฺจาทิฯ
|
๔๑๔. วิธาทีสุ ทฺวิสฺส ทุ
ในเพราะวิธศัพท์เป็นต้น
แปลง ทฺวิ เป็น ทุ.
ในเพราะศัพท์มี
วิธ เป็นต้น อันเป็นเบื้องหลัง ทุ เป็นตัวเปลี่ยน ของทฺวิ. ตัวอย่างเช่น
ธรรมมี ๒
ประการ ชื่อว่า ทุวิโธ. จีวรมี ๒ ชั้น ชื่อว่า ทุปฏฺฏํ. ฌาน
มีองค์สอง ชื่อว่า ทุวงฺคิกํ.
|
สมาสกัณฑ์ ๙ - วิเสสวิธาน ง - อัพยยะ
อพฺยยราสิ
|
อัพยยราสิ
กลุ่มนามศัพท์ที่เข้าสมาสกับบทอัพยยะ
|
๔๑๐. กุปาทโย นิจฺจมสฺยาทิวิธิมฺหิ [1]ฯ
|
๔๑๐. กุปาทโย นิจฺจมสฺยาทิวิธิมฺหิ.
นิบาตมีกุเป็นต้นและ
อุปสัคมี ป เป็นต้น เข้าสมาสกับบทนามในวิธีการแห่งสมาส แน่นอน
|
สฺยาทิวิธิโต อญฺญตฺถ กุอาทโย ปาทโย จ สทฺทา สฺยาทฺยนฺเตน สห
นิจฺจํ เอกตฺถา โหนฺติฯ
|
ในวิธีการอื่นจากวิธีการแห่งคำนาม ศัพท์ทั้งหลายมีกุเป็นต้น และ ป เป็นต้น
เข้าสมาสกับบทนาม แน่นอน. ตัวอย่างเช่น
|
สมาสกัณฑ์ ๘ - วิเสสวิธาน ค - นานาเทส
นานาเทสราสิ
|
กลุ่มศัพท์สมาสที่มีการเปลี่ยนรูปต่างๆ
|
๓๗๘. อุตฺตรปเท [1]ฯ
|
๓๗๘.อุตฺตรปเท
เมื่อมีบทหลัง จะมีกระบวนการทางไวยากรณ์ที่บทหน้าเท่านั้น.
|
อุตฺตรปเท
ปเร ปุพฺพปเท วิธิ โหตีติ อตฺโถฯ อธิการสุตฺตมิทํฯ
‘‘อพฺราหฺมโณ, อนริโย, อภิกฺขุโก,
อนนฺโต’’อิจฺจาทีสุ สมาเส อุตฺตรปเท ปเร
น-การสฺส อ, อน โหนฺติฯ
|
เพราะบทหลัง
กระบวนการทางไวยากรณ์มีที่บทหน้า. สูตรนี้เป็นอธิการสูตร.
ในตัวอย่างเป็นต้นว่า
อพฺรหฺมโณ ไม่ใช่พราหมณ์, อนริโย ไม่ใช่อริยะ, อภิกฺขุโก ไม่เป็นภิกษุ, อนนฺโต
ไม่มีที่สุด ดังนี้ แปลง น (บทหน้า)
เป็น อ และ อน เพราะมีบทข้างหลัง.
|
สมาสกัณฑ์ ๗ - วิเสสวิธาน ข- สมาสนฺตกปจฺจย - อปจฺจย
สมาสนฺตกปจฺจยราสิ
|
กลุ่มนามศัพท์ที่ลง
ก ปัจจัยท้ายสมาส
|
๓๖๕. ลฺติตฺถิยูหิ โก[1] ฯ
|
๓๖๕. ลฺติตฺถิยูหิ โก ฯ
(ในพหุพพีหิสมาส
ลงกปัจจัย ท้ายบทที่ลง ตุปัจจัย, อีการันต์ และอูการันต์อิตถีลิงค์โดยมาก)
|
อญฺญปทตฺถวิสเย
กตฺตุอิจฺจาทีหิ ลฺตุปจฺจยนฺเตหิ อิตฺถิยํ อี, อูการนฺเตหิ จ พหุลํ กปจฺจโย โหติฯ
พหโว
กตฺตาโร ยสฺมิํ เทเส โส พหุกตฺตุโกฯ เอวํ พหุวตฺตุโก, พหุกา นทิโย ยสฺมิํ เทเส โส พหุนทิโกฯ เอวํ พหุอิตฺถิโก, คาโม, พหุอิตฺถิกา, สภา,
พหุอิตฺถิกํ, กุลํฯ เอวํ พหุกุมาริกํ,
พหุพฺรหฺมพนฺธุโกฯ
เอตฺถ
จ ‘พฺรหฺมพนฺธู’ติ รสฺสปทํ
พฺราหฺมณํ วทติ, ทีฆปทํ พฺราหฺมณิํ วทติ, กปจฺจเย ปเร ทีฆานํ มหาวุตฺตินา รสฺสตฺตํ อิจฺฉนฺติฯ
พหุลนฺติ
กิํ? พหุกตฺตา, คาโมฯ
|
ในวิสัยแห่งอัญญปทัตถสมาส
(พหุพพีหิสมาส) กปัจจัย
โดยมากจะลงท้ายบทลงตุปัจจัย เช่น กตฺตุ เป็นต้น, อี การันต์
และอูการันต์ในอิตถีลิงค์.
|
สมาสกัณฑ์ ๖ - วิเสสวิธาน ก- นปุํสเกกตฺตํ - ปุมฺภาวาติเทส
วิเสสวิธาน
|
วิธีประกอบรูปพิเศษ
|
|
ต่อไปนี้
จะกล่าวถึงการประกอบรูปพิเศษ ในสมาส ๖ ประเภท
ทั้งที่เคยและไม่เคยกล่าวไว้ในตอนต้น.
|
นปุํสเกกตฺตํ, สมาสนฺตรสฺโส, ปุมฺภาวาติเทโส, สมาสนฺเต ก, สมาสนฺเต อ, นานาเทโส,
อพฺยโย, สงฺขฺยาฯ
|
วิธีการดังกล่าวมีดังนี้
๑. ความเป็นรูปนปุงสกลิงค์ เอกวจนะ
๒. ความเป็นรัสสะท้ายบทสมาส
๓. การแสดงเหมือนที่เคยเป็งปุงลิงค์
๔. ลง ก ปัจจัยท้ายบทสมาส
๕. ลง อ ปัจจัยท้ายบทสมาส
๖. การแปลงเป็นรูปต่างๆ
๗. บทสมาสที่เป็นอัพยยะ
๘. บทสมาสที่เป็นสังขยา
|
สมาสกัณฑ์ ๕ - ทวันทสมาส
ทฺวนฺทสมาส
|
ทวันทสมาส
|
|
จะแสดงทวันทสมาสสืบไป.
|
ทฺเว จ ทฺเว จ ปทานิ ทฺวนฺทา, ทฺเว จ ทฺเว จ
อตฺถา วา ทฺวนฺทา, มหาวุตฺตินา ทฺวินฺนํ ทฺวิสทฺทานํ
ทฺวนฺทาเทโสฯ ทฺวนฺทสทฺทสทิสตฺตา สพฺโพ จายํ สมาโส ทฺวนฺโทติ วุจฺจติฯ
|
บททั้งหลายสอง ด้วย
สอง ด้วย ชื่อว่า ทวันทะ, เนื้อความทั้งหลาย สอง ด้วย สอง ด้วย ชื่อว่า ทวันทะ. แปลง
ทฺวิศัพท์สองศัพท์เป็น ทวนฺท ด้วยสูตรใหญ่. สมาสนี้นั้น ทุกประเภท เรียกว่า
ทวันทสมาส เพราะเหมือนกับทวันทศัพท์.
|
อถ วา ทฺเว อวยวา อนฺทิยนฺติ
พนฺธิยนฺติ เอตฺถาติ ทฺวนฺโท,
ยุคฬสฺเสตํ นามํ ‘‘ปาททฺวนฺทํ มุนินฺทสฺส,
วนฺทามิ สิรสามห’’นฺติ เอตฺถ วิย, อิธ ปน ปทยุคฬํ อตฺถยุคฬญฺจ คยฺหติฯ อุภยปทตฺถปธาโน หิ ทฺวนฺโท.
|
อีกนัยหนึ่ง
ส่วนท.สอง ถูกผูกไว้ในศัพท์นี้ เหตุน้ัน ศัพท์นี้ ชื่อว่า ทวันทะ,
คำนี้เป็นชื่อของสิ่งอันเป็นคู่ เหมือนในข้อความนี้ว่า “ปาททฺวนฺทํ มุนินฺทสฺส, วนฺทามิ สิรสามหํ
ข้าพเจ้าขอนอบน้อมนมัสการที่พระยุคลบาท (คู่แห่งพระบาท)
ของพระจอมมุนีพุทธเจ้าด้วยเศียรเกล้า”. แต่ในที่นี้
ท่านถือเอาคู่แห่งบทและคู่แห่งอรรถ. ก็ทวันทสมาสนั้น
มีอรรถแห่งบททั้งสองเป็นประธาน.
|
สมาสกัณฑ์ ๔ - ทิคุ, พหุพพีหิสมาส
ทิคุสมาส
|
ทิคุสมาส
|
|
จะแสดงปฐมาตัปปุริสสมาสที่นับว่า
ทิคุ สืบต่อจากกัมมธารยสมาส.
|
ทฺเว
คาโว ทิคุ, สงฺขฺยาปุพฺพตฺเตน นปุํสเกกตฺเตน จ ทิคุสทฺทสทิสตฺตา
สพฺโพ จายํ สมาโส ทิคูติ วุจฺจติฯ
|
โคสองตัว
เรียกว่า ทิคุ, สมาสนี้ทุกประเภท เรียกว่า ทิคุ เพราะเสมือนกับทิคุนั้น
โดยมีจำนวนนับ (สังขยาศัพท์) เป็นบทหน้า
และมีความเป็นนปุํสกลิงค์เอกพจน์(เท่านั้น).
|
๓๕๒. สงฺขฺยาทิ [1]ฯ
สมาหาเรกตฺเถ
สงฺขฺยาปุพฺพกํ เอกตฺถํ นปุํสกํ โหติ, สมาหารวจเนเนว
เอกตฺตญฺจ สิทฺธํฯ
|
๓๕๒.
สงฺขฺยาทิ.
(ทิคุสมาสมีสังขยาศัพท์เป็นบทหน้า)
ในสมาสชนิดสมาหาร
(ประมวลมาเป็นกลุ่มเดียว) สมาสชนิดที่มีจำนวนนับเป็นบทหน้า เป็นนปุงสกลิงค์
และด้วยคำว่า สมาหาร นั่นเอง จึงสำเร็จเป็นเอกพจน์.
|
สมาสกัณฑ์ ๓ - กัมมธารยสมาส
กมฺมธารยสมาส
|
กัมมธารยสมาส
|
อถ
กมฺมธารยสญฺญิโต ปฐมาตปฺปุริโส วุจฺจเตฯ
|
ต่อจากอมาทิสมาส
จะกล่าวถึงปฐมาตัปปุริสสมาส ซึ่งเรียกชื่อว่า กัมมธารยสมาส.
|
กมฺมมิว ทฺวยํ
ธาเรตีติ กมฺมธารโยฯ ยถา กมฺมํ กฺริยญฺจ ปโยชนญฺจ ทฺวยํ ธาเรติ กมฺเม สติ
ตสฺส ทฺวยสฺส สมฺภวโต, ตถา อยํ สมาโส เอกสฺส อตฺถสฺส ทฺเว นามานิ ธาเรติ
อิมสฺมิํ สมาเส สติ เอกตฺถโชตกสฺส นามทฺวยสฺส สมฺภวโตติ [๑]ฯ
|
กัมมธารยสมาส
มีวิเคราะห์ว่า สมาสที่ทรงนามศัพท์สองศัพท์ไว้ เหมือนอย่างกรรม (การกระทำ).
หมายความว่า กรรมย่อมทรงไว้ ซึ่งสิ่งสองอย่าง คือ กริยาและผลประโยชน์ เพราะทั้งสองนั้นจะมีขึ้นได้
ก็ต่อเมื่อกรรมมีอยู่ ฉันใด, สมาสนี้ ก็ย่อมทรงไว้ซึ่งนามศัพท์สองศัพท์
ของอรรถอย่างเดียว เพราะนามศัพท์สองศัพท์ซึ่งแสดงอรรถอย่างเดียว จะมีได้
ก็ต่อเมื่อมีสมาสชนิดนี้.
|
สมาสกัณฑ์ ๒ - ตัปปุริสสมาส
ตปฺปุริสสมาส
ทุติยาตปฺปุริส
|
ตปฺปุริสสมาส
ทุติยาตปฺปุริส
|
อถ อมาทิสมาโส วุจฺจเต, โส ตปฺปุริโสติ จ วุจฺจติฯ ตสฺส ปุริโส ตปฺปุริโส, ตปฺปุริสสทฺเทน สทิสตฺตา อยํ สมาโส ตปฺปุริโสติ วุจฺจติฯ ยถา หิ
ตปฺปุริสสทฺโท วิเสสนปทตฺถํ ชหิตฺวา วิเสสฺยปทตฺเถ ติฏฺฐติ, เอวํ อยํ สมาโสปีติฯ
|
ต่อจากอัพยยีภาวสมาส จะกล่าวอมาทิสมาส. อนึ่ง อมาทิสมาสนั้น
เรียกว่า ตปฺปุริส. คำว่า ตปฺปุริส มีวิเคราะห์ว่า “ตสฺส ปุริโส ตปฺปุริโส
บุรุษของพระราชานั้น ชื่อว่า ตปฺปุริส, เพราะสมาสนี้เป็นเช่นเดียวกับตปฺปุริสศัพท์
จึงเรียกว่า ตปฺปุริส”. จะเห็นได้ว่า ตปฺปุริสศัพท์ ทิ้งเนื้อความของบทวิเสสนะ
(คือ ตสฺส ราชาโน ของพระราชานั้น)ไปแล้วตั้งอยู่ในเนื้อความของบทวิเสสยะ (คือ
ปุริส บุรุษ) ฉันใด, แม้สมาสนี้ ก็เป็นเหมือนฉันนั้น.
|
๓๔๕. อมาทิ[๑]ฯ
|
๓๔๕. อมาทิ
บทนาม ซึ่งประกอบด้วยอํวิภัตติเป็นต้น สมาสกับบทนามที่ลงปฐมาวิภัตติเป็นต้น
ชื่อว่า อมาทิ.
|
สมาสกัณฑ์ ๑ - อัพยยีภาวสมาส
การกกัณฑ์ ๗ - สัตตมีวิภัตติ จบการกกัณฑ์
สตฺตมีวิภตฺติราสิ
|
กลุ่มนามศัพท์ที่มีอรรถแห่งสัตตมีวิภัตติ
|
กสฺมิํ
อตฺเถ สตฺตมี?
|
ลงสัตตมีวิภัตติ
ในอรรถใดบ้าง?
ลงสัตตมีวิภัตติในอรรถอาธาระ
ด้วยสูตรนี้
|
๓๒๓. สตฺตมฺยาธาเร[๑]
ฯ
|
๓๒๓. สตฺตมฺยาธาเร
ลงสัตตมีวิภัตติในอรรถอาธาระ.
|
การกกัณฑ์ ๖ - ฉัฏฐีวิภัตติ
ฉฏฺฐีวิภตฺติราสิ
|
กลุ่มนามศัพท์ที่มีอรรถแห่งฉัฏฐีวิภัตติ
|
กสฺมิํ
อตฺเถ ฉฏฺฐี?
|
ลงฉัฏฐีวิภัตติ
ในอรรถอะไรบ้าง?
|
|
(๑)
ลงในอรรถสัมพันธ์ด้วยสูตรนี้
|
๓๒๐. ฉฏฺฐี สมฺพนฺเธ [๑]ฯ
|
๓๒๐. ฉฏฺฐี สมฺพนฺเธ
ลงฉัฏฐีวิภัตติ
เมื่อจะแสดงความสัมพันธ์.
|
ทฺวินฺนํ
สมฺพนฺธีนํ เกนจิ ปกาเรน อายตฺตภาโว สมฺพนฺโธ นาม, สมฺพนฺเธ โชเตตพฺเพ วิเสสนสมฺพนฺธิมฺหิ ฉฏฺฐี โหติฯ
|
ความเกี่ยวเนื่องกันของสัมพันธี
สองบท โดยประการอย่างใดอย่างหนึ่ง ชื่อว่า สัมพันธ์. เมื่อจะแสดงสัมพันธ์
ให้ลงฉัฏฐีวิภัตติ ท้ายสัมพันธีที่เป็นวิเสสนะ[๒]
.
|
การกกัณฑ์ ๕ - ปัญจมีวิภัตติ
ปญฺจมีวิภตฺติราสิ
|
กลุ่มอรรถแห่งปัญจมีวิภัตติ
|
กสฺมิํ
อตฺเถ ปญฺจมี?
|
ปัญจมีวิภัตติใช้ในความหมายใดบ้าง?
|
๓๑๒. ปญฺจมฺยาวธิสฺมิํ [1].
อวธิยติ
ววตฺถิยติ ปทตฺโถ เอตสฺมาติ อวธิ, ตสฺมิํ ปญฺจมี โหติ,
อวธีติ จ อปาทานํ วุจฺจติฯ
|
ปัญจมีวิภัตติใชัในความหมายว่า
เขตแดน (อวธิ,อปาทาน) ด้วยสูตรนี้
๓๑๒. ปญฺจมฺยาวธิสฺมิํ
ปัญจมีวิภัตติใช้ในความหมายว่า
อวธิ (กำหนดอรรถของบท). อวธิ ได้แก่ เขตแดนเป็นที่กำหนดอรรถของบท,
ใช้ปัญจมีวิภัตติในอวธินั้น, อนึ่ง อปาทาน ท่านเรียกว่า อวธิ.
|
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)