วันจันทร์ที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

ครั้งที่ ๘ สนธิกัณฑ์ สนธิวิธาน อาเทส-สราเทสราสิ

อาเทสสนฺธิ
อถาเทสสนฺธิ ทีปิยเตฯ
๓๗. ยวา สเร[๑]
สเร ปเร อิวณฺณุวณฺณานํ ย, วาเทสา โหนฺติ วาฯ
อิวณฺเณ
ปฏิสนฺถารวุตฺยสฺส[๒], สพฺพา วิตฺยานุภูยเต, กฺยาหํ อปรชฺฌามิ [๓]อิธ ปฐมํ พินฺทุโลโป, สุตา จ ปณฺฑิตาตฺยตฺถ, สุตา จ ปณฺฑิตาตฺยมฺหา[๔], ญาโต เสนาปตีตฺยาหํ[๕], อิจฺเจตํ กุสลํ[๖], อิจฺจสฺส วจนียํ[๗],  ปจฺจุตฺตริตฺวา, ปจฺจาหรติ[๘], ปจฺเจติ, ปจฺจโย, อจฺเจติ, อจฺจโย[๙], อจฺจายํ มชฺฌิโม ขณฺโฑ [๑๐]อติเรโก อยํ มชฺฌิโม ขณฺโฑตฺยตฺโถ, อปุจฺจณฺฑตา อปุติอณฺฑตาตฺยตฺโถ, ชจฺจนฺโธ, ชจฺจฆานโก, ชจฺเจฬโก, อพฺภุคฺคจฺฉติ, อพฺเภติ, อพฺโภกาโส[๑๑], อชฺโฌกาโส อชฺฌาคมา อิจฺจาทิฯ
วาตฺเวว? อิติสฺส มุหุตฺตมฺปิ[๑๒], อติสิคโณ, อธีริตํฯ
เอตฺถ จ อิจฺเจตนฺติอาทีสุ อิมินา สุตฺเตน อิติ, ปติ, อติปุติ, ชาติ, อภิ, อธิสทฺทานํ อิวณฺณสฺส ยตฺตํ, ‘ตวคฺค, วรณาน’…นฺติ สุตฺเตน ยมฺหิ ตวคฺคสฺส จตฺตํ, ‘วคฺค, , เสหิ เตติ สุตฺเตน ยสฺส ปุพฺพรูปตฺตํ,  อภิ, อธิสทฺเทสุ ปน จตุตฺถทุติเยสฺเวส’…นฺติ สุตฺเตน วคฺคจตุตฺถานํ ตติยตฺตํฯ
อุวณฺเณ
จกฺขฺวาพาธมาคจฺฉติ, ปาตฺวากาสิ[๑๓], วตฺถฺเวตฺถ วิหิตํ นิจฺจํ, ทฺวากาโร[๑๔], มธฺวาสโว[๑๕], อนฺวโย, อนฺเวติ, สฺวากฺขาโต[๑๖], สฺวากาโร[๑๗], พหฺวาพาโธ อิจฺจาทิฯ
---------

อาเทสสนฺธิ
วิธีเชื่อมบทโดยแปลงอักษร
อถาเทสสนฺธิ ทีปิยเตฯ
ต่อจากวุทธิสนธิ จะแสดงอาเทสสนธิ คือ วิธีเข้าสนธิโดยอาเทส คือ แปลงอักษร

๓๗. ยวา สเร
เพราะมีสระข้างหลัง ยฺ และวฺ เป็นอาเทสของ อิวัณณะและอุวัณณะ ในบางแห่ง
สเร ปเร อิวณฺณุวณฺณานํ ย, วาเทสา โหนฺติ วาฯ
อิวัณณะ และ อุวัณณะ ย่อมเป็น ยฺ และ วฺ (ตามลำดับ) ในเพราะสระหลัง ได้บ้าง[๑๘]

อิวณฺเณ
๑)    อิวัณณะที่ถูกแปลงเป็น ยฺ ตัวอย่างเช่น
ปฏิสนฺถารวุตฺยสฺส =  ปฏิสนฺถารวุตฺติ + อสฺส
สพฺพา วิตฺยานุภูยเต =  สพฺพา วิตฺติ + อนุภูยเต
กฺยาหํ อปรชฺฌามิ กึ + อหํ อปรชฺฌามิ[๑๙]
สุตา จ ปณฺฑิตาตฺยตฺถ =  สุตา จ ปณฺฑิตาติ อตฺถ
สุตา จ ปณฺฑิตาตฺยมฺหา =  สุตา จ ปณฺฑิตาติ อมฺหา
ญาโต เสนาปตีตฺยาหํ =  ญาโต เสนาปติ อิติ อหํ
อิจฺเจตํ กุสลํ = อิติ เอตํ กุสลํ
อิจฺจสฺส วจนียํ = อิติ อสฺส วจนียํ  
ปจฺจุตฺตริตฺวา = ปติ อุตฺตริตฺวา
ปจฺจาหรติ = ปติ อาหรติ
ปจฺเจติ = ปติ เอติ
ปจฺจโย = ปติ อิโย
อจฺเจติ = อติ เอติ
อจฺจโย =  อติ + อิ (ธาตุ) อ (ปัจจัย)

อจฺจายํ มชฺฌิโม ขณฺโฑ = อติ + อยํ มชฺฌิโม ขณฺโฑ.
อติเรโก  อยํ มชฺฌิโม ขณฺโฑตฺยตฺโถ
ในอุ.นี้ อติ = อติเรโก  ส่วนเกิน  ความหมายว่า ท่อนกลางนี้เป็นส่วนเกิน[๒๐]
อปุจฺจณฺฑตา =   อปุติ+อณฺฑตา
อปุติ+อณฺฑตาตฺยตฺโถ, ความหมายว่า ความไม่เป็นไข่เน่า.[๒๑]
ชจฺจนฺโธ =  ชาติ อนฺโธ
ชจฺจฆานโก =  ชาติ อฆานโก
ชจฺเจฬโก =  ชาติ เอฬโก
อพฺภุคฺคจฺฉติ  = อภิ อุคฺคจฺฉติ
อพฺเภติ = อภิ เอติ
อพฺโภกาโส = อภิ โอกาโส
อชฺโฌกาโส = อธิ โอกาโส  
อชฺฌาคมา =  อธิ อาคมา

วาตฺเวว?
ข้าพเจ้ากล่าว วา ศัพท์ในสูตรนี้ไว้เพื่อห้ามอาเทศอิวัณณะเป็น ยฺ ในอุทาหรณ์เหล่านี้ คือ

อิติสฺส มุหุตฺตมฺปิ = อิติสฺส มุหุตฺตมฺปิ
อติสิคโณ = อติสิคโณ
อธีริตํ = อธีริตํ.

เอตฺถ จ อิจฺเจตนฺติอาทีสุ อิมินา สุตฺเตน อิติ, ปติ, อติปุติ, ชาติ, อภิ, อธิสทฺทานํ อิวณฺณสฺส ยตฺตํ, ‘ตวคฺค, วรณาน’…นฺติ สุตฺเตน ยมฺหิ ตวคฺคสฺส จตฺตํ, ‘วคฺค, , เสหิ เตติ สุตฺเตน ยสฺส ปุพฺพรูปตฺตํ,   อภิ, อธิสทฺเทสุ ปน จตุตฺถทุติเยสฺเวส’…นฺติ สุตฺเตน วคฺคจตุตฺถานํ ตติยตฺตํฯ
สำหรับในอุทาหรณ์มี อิจฺเจตํ เป็นต้น เมื่ออาเทศอิวัณณะ ของ อิติ ปติ อติปุติ ชาติ อภิ และอธิ เป็น ยฺ ด้วยสูตรนี้แล้ว, เพราะ ยฺอาเทสนั้น แปลงตฺ เป็น จฺ ด้วยสูตร ตวคฺควรณานํฯ, แปลง ย เป็นปุพพรูป คือ รูปเดียวกับอักษรหน้า ด้วยสูตร วคฺคลเสหิ เตฯ. แต่ในอภิและอธิศัพท์ แปลงพยัญชนะที่ ๔ ของวรรคเป็นพยัญชนะที่ ๓ ของวรรค ด้วยสูตร จตุตฺถทุติเยสฺเวส.[๒๒]
อุวณฺเณ
๒) อุวัณณะ เป็น วฺ
จกฺขฺวาพาธมาคจฺฉติ, = จกฺขุ อาพาธมาคจฺฉติ
ปาตฺวากาสิ =ปาตุ อกาสิ
วตฺถฺเวตฺถ วิหิตํ นิจฺจํ  = ตฺถุ เอตฺถ วิหิตํ นิจฺจํ
ทฺวากาโร =ทุ อากาโร
มธฺวาสโว = มธุ อาสโว
อนฺวโย  = อนุ อโย
อนฺเวติ = อนุ เอติ
สฺวากฺขาโต = สุ อกฺขาโต
สฺวากาโร = สุ อากาโร
พหฺวาพาโธ = พหุ อาพาโธ

---

๓๘. เอโอนํ[๒๓]
สเร ปเร เอ, โอนํ ย, วาเทโส โหติ วาฯ
กฺยสฺส พฺยปถโย อสฺสุ.  กฺยสฺสุ อิธ โคจรา[๒๔] - เก+อสฺส ปุคฺคลสฺสาติ อตฺโถ, พฺยปถโยติ วจนปถา, ยถา นามํ ตถา ฌสฺส-เจ+อสฺสาติ เฉโท, ตฺยาหํ เอวํ วเทยฺยํ[๒๕], ตฺยสฺส ปหีนา โหนฺติ, ปุตฺโต ตฺยาหํ มหาราช[๒๖], ปพฺพตฺยาหํ คนฺธมาทเน, อธิคโต โข มฺยายํ ธมฺโม[๒๗], ยฺยสฺส วิปฺปฏิสารชา, ยฺยสฺส เต โหนฺติ อนตฺถกามา, ยฺยสฺสุ มญฺญามิ สมเณ-เอตฺถ จ อวิสิฏฺเฐปิ วจนสทฺเท เย+อสฺสาติ ปทจฺเฉทพุทฺธิสุขตฺถํ  ยฺยสฺสาติ โปตฺถกาโรปนํ ยุชฺชติเยว, ยถา ตํ? ‘ยทาสฺส สีลํ ปญฺญญฺจ[๒๘]อิจฺจาทีสุ วิย, กฺวตฺโถสิ ชีวิเตน    เม, ยาวตกฺวสฺส กาโย, ตาวตกฺวสฺส พฺยาโม[๒๙], อถ ขฺวสฺส, อตฺถิ ขฺเวตํ พฺราหฺมณ, ยตฺวาธิกรณํ[๓๐], ยฺวาหํ,  สฺวาหํ อิจฺจาทิฯ
วาตฺเวว? โส อหํ วิจริสฺสามิ[๓๑], โส อหํ ภนฺเตฯ

-------

๓๘. เอโอนํ
ย และ วฺ เป็นอาเทสของ เอ และ โอ เพราะสระหลัง

สเร ปเร เอ, โอนํ ย, วาเทโส โหติ วาฯ
ในเพราะสระหลัง ยและวฺ เป็นอาเทสของเอ และ โอ ได้บ้าง

กฺยสฺส พฺยปถโย อสฺสุ,  กฺยสฺสุ อิธ โคจรา[๓๒] = เก อสฺส พฺยปถโย อสฺสุ, เก อสฺสุ อิธ โคจรา. 
- เก+อสฺส ปุคฺคลสฺสาติ อตฺโถ, พฺยปถโยติ วจนปถา,
กฺยสฺส คือ เก อสฺส ปุคฺคลสฺส แปลว่า คำพูดเหล่าใด ของบุคคลนั้น.  คำว่า พฺยปถโย ความหมายเดียวกับ วจนปถา แปลว่า คำพูด.

ยถา นามํ ตถา ฌสฺส = ยถา นามํ ตถา เจ อสฺส[๓๓]
ตฺยาหํ เอวํ วเทยฺยํ = เต อหํ เอวํ วเทยฺยํ.
ตฺยสฺส ปหีนา โหนฺติ= เต อสฺส ปหีนา โหนฺติ
ปุตฺโต ตฺยาหํ มหาราช = ปุตฺโต เต อหํ มหาราช
ปพฺพตฺยาหํ คนฺธมาทเน = ปพฺพเต อหํ คนฺธมาทเน
อธิคโต โข มฺยายํ ธมฺโม = อธิคโต โข เม อยํ ธมฺโม
ยฺยสฺส วิปฺปฏิสารชา = เย อสฺส วิปฺปฏิสารชา
ยฺยสฺส เต โหนฺติ อนตฺถกามา = เย อสฺส เต โหนฺติ อนตฺถกามา
ยฺยสฺสุ มญฺญามิ สมเณ = เย อสฺสุ มญฺญามิ สมเณ

เอตฺถ จ อวิสิฏฺเฐปิ วจนสทฺเท เย+อสฺสาติ ปทจฺเฉทพุทฺธิสุขตฺถํ ยฺยสฺสาติ โปตฺถกาโรปนํ ยุชฺชติเยว, ยถา ตํ? ‘ยทาสฺส สีลํ ปญฺญญฺจอิจฺจาทีสุ วิย,
สำหรับในกรณีนี้ แม้ในศัพท์ที่มีพจน์ไม่ต่างกัน การที่ยกมาแสดงไว้ในตำราว่า ยฺยสฺส เพื่อง่ายต่อการทำความเข้าใจในการตัดบทเป็น เย อสฺส ก็ควรอยู่, ตัวอย่างเช่น ยทาสฺส สีลํ ปญฺญญฺจ.[๓๔]  
กฺวตฺโถสิ ชีวิเตน เม  = โก อตฺโถสิ ชีวิเตน เม
ยาวตกฺวสฺส กาโย =ยาวตโก อสฺส กาโย
ตาวตกฺวสฺส พฺยาโม = ตาวตโก อสฺส พฺยาโม
อถ ขฺวสฺส, =อถ โข อสฺส
อตฺถิ ขฺเวตํ พฺราหฺมณ, =อตฺถิ โข เอตํ พฺราหฺมณ
ยตฺวาธิกรณํ = ยโต อธิกรณํ
ยฺวาหํ = โย อหํ
สฺวาหํ= โส อหํ

วาตฺเวว?
ข้าพเจ้ากล่าว วา ศัพท์ เพื่อปฏิเสธการเป็น เอ และ โอ ใน ๒ ตัวอย่างนี้
โส อหํ วิจริสฺสามิ = โส อหํ วิจริสฺสามิ
โส อหํ ภนฺเต = โส อหํ ภนฺเต

------

๓๙. ยุวณฺณานมิยงุวง[๓๕]
สเร ปเร อิวณฺณุวณฺณนฺตานํ ปทานํ อิยง, อุวงาเทสา โหนฺติ วาฯ งานุพนฺโธ อนฺตาเทสตฺโถฯ เอวํ สพฺพตฺถฯ
อิธ เอเกกสฺส ปทสฺส รูปทฺวยํ วุจฺจเตฯ
อิวณฺเณ
ติยนฺตํ ตฺยนฺตํ ตตฺถ ติยนฺตนฺติ อิมินา สุตฺเตน สิทฺธํ, ตฺยนฺตนฺติ ยวา สเรติ สุตฺเตนฯ เอวํ เสเสสุฯ อคฺคิยาคาเร อคฺยาคาเร, จตุตฺถิยตฺเถ[๓๖] จตุตฺถฺยตฺเถ, ปญฺจมิยตฺเถ ปญฺจมฺยตฺเถ, ปถวิยากาโส  ปถพฺยากาโส, วิยญฺชนํ พฺยญฺชนํ, วิยากโต พฺยากโต, วิยากํสุ พฺยากํสุ, วิยตฺโต พฺยตฺโต, วิยูฬฺโห พฺยูฬฺโห, ธมฺมํ อธิเยติ อชฺเฌติ, ปติเยติ ปจฺเจติ ปตฺติยายติ วา, ปริยงฺโก ปลฺลงฺโก, วิปริยาโส วิปลฺลาโส,
อิธ เอกรูปํ โหติ ปริยตฺติ, ปริยตฺโต, ปริยาโย, ปลฺลงฺโกอิจฺจาทีสุ ปริสทฺเท รสฺส ลตฺตํ กตฺวา อิสฺสยวา สเรติ ยตฺเต กเต ยสฺส ปุพฺพรูปตฺตํฯ
อุวณฺเณ
ภิกฺขุวาสเน, สยมฺภุวาสเน, อิธปิ รูปทฺวยํ ลพฺภติ ทุวงฺคิกํ=ทฺวงฺคิกํ, ภุวาทิคโณ=ภฺวาทิคโณ  อิจฺจาทิฯ

----------------

๓๙. ยุวณฺณานมิยงุวง
อิย และ อุว เป็น อาเทศของ อิวัณณะและอุวัณณะท้ายบท เพราะสระ

สเร ปเร อิวณฺณุวณฺณนฺตานํ ปทานํ อิยง, อุวงาเทสา โหนฺติ วาฯ
ในเพราะสระหลัง อิย และ อุว เป็นอาเทศของท้ายบทซึ่งมีอิอีและอุอู เป็นเสียงท้าย.

งานุพนฺโธ อนฺตาเทสตฺโถฯ เอวํ สพฺพตฺถฯ
ง อนุพันธ์[๓๗] มีความหมายว่า เป็นอาเทศของสระที่สุดบท. ในที่มีงอนุพันธ์ทุกตัวก็มีนัยนี้.

อิธ เอเกกสฺส ปทสฺส รูปทฺวยํ วุจฺจเตฯ
ในที่นี้ สำหรับตัวอย่างหนึ่ง จะแสดงควบคู่กัน (ระหว่างรูปที่ได้จากสูตรนี้และสูตรอื่น) [๓๘]

อิวณฺเณ
๑) เริ่มที่ อิวัณณะ
ติยนฺตํ ตฺยนฺตํ ตตฺถ ติยนฺตนฺติ อิมินา สุตฺเตน สิทฺธํ, ตฺยนฺตนฺติ ยวา สเรติ สุตฺเตนฯ
ติยนฺตํ = ติ อนฺตํ
ติยนฺตํ ด้วยสูตรนี้ คือ อิ ท้าย ติ เป็น อิย เพราะ อ ที่อนฺตํ ข้างหลัง.
ตฺยนฺตํ อิ เป็น ยฺ เพราะ อ ที่อนฺตํ ด้วยสูตร ยวา สเร.

เอวํ เสเสสุ ฯ
ในอุทาหรณ์ที่เหลือ ก็มีวิธีสำเร็จรูปเช่นนี้ คือ

อคฺคิยาคาเร อคฺยาคาเร =  อคฺคิ อาคาเร
จตุตฺถิยตฺเถ จตุตฺถฺยตฺเถ, =  จตุตฺถี อตฺเถ
ปญฺจมิยตฺเถ ปญฺจมฺยตฺเถ, =  ปญฺจมิยตฺเถ
ปถวิยากาโส ปถพฺยากาโส =   ปถวี อากาโส
วิยญฺชนํ พฺยญฺชนํ, =  วิ อญฺชนํ
วิยากโต พฺยากโต, =  วิ อากโต
วิยากํสุ พฺยากํสุ, =  วิ อกํสุ
วิยตฺโต พฺยตฺโต, =  วิ อาป ต[๓๙]
วิยูฬฺโห พฺยูฬฺโห, =  วิ รุห[๔๐]
ธมฺมํ อธิเยติ อชฺเฌติ, =  อธิ เอติ
ปจฺเจติ ปตฺติยายติ วา, =  ปติ เอติ
ปริยงฺโก ปลฺลงฺโก, =  ปริ องฺโก
วิปริยาโส วิปลฺลาโส, =  วิปริยาโส

อิธ เอกรูปํ โหติ
สำหรับอุทาหรณ์นี้มีรูปเดียว
ปริยตฺติ, =  ปริ อาป  ติ [๔๑]
ปริยตฺโต ปริ  อาป  ต[๔๒]
ปริยาโย ปริ  เอ [๔๓]  อ

ปลฺลงฺโกอิจฺจาทีสุ ปริสทฺเท รสฺส ลตฺตํ กตฺวา อิสฺสยวา สเรติ ยตฺเต กเต ยสฺส ปุพฺพรูปตฺตํฯ
ในอุทาหรณ์ว่า ปลฺลงฺก เป็นต้น
ร ของ ปริ เป็น ลฺ (ปลิ)
อิ เป็น ยฺ ด้วยสูตร ยวา สเร (ปลฺยฺ) 
แปลง ยฺ อาเทส เป็น ปุพพรูป คือ  ลฺ  (ปลฺลฺ)
นำประกอบกับ องฺก เป็น ปลฺลงฺก

๒) อุวัณณะ เป็น อุว
ภิกฺขุวาสเน, = ภิกฺขุ อาสเน
สยมฺภุวาสเน = สยมฺภู อาสเน

อิธปิ รูปทฺวยํ ลพฺภติ ทุวงฺคิกํ ทฺวงฺคิกํ,  ภุวาทิคโณ  ภฺวาทิคโณ อิจฺจาทิฯ
ในอุทาหรณ์ต่อไปนี้ มีได้ ๒ รูป ตัวอย่างเช่น
ทุวงฺคิกํ,  ทฺวงฺคิกํ,  =  ทุ องฺคิกํ
ภุวาทิคโณ,   ภฺวาทิคโณ =  ภู อาทิคโณ.


-----------------------------


๔๐. วิติสฺเสเว วา [๔๔]
เอวสทฺเท ปเร อิติสทฺทสฺส อิ-การสฺส โว โหติ วาฯ
อิตฺเวว โจโร องฺคุลิมาโล, สมุทฺโทตฺเวว สงฺขฺยํ[๔๕] คจฺฉติ, มหาอุทกกฺขนฺโธตฺเวว สงฺขฺยํ คจฺฉติ,             มหาสมฺมโตตฺเวว ปฐมํ อกฺขรํ นิพฺพตฺตํ[๔๖] , อิสิคิลิตฺเวว สมญฺญา อโหสิ[๔๗]
วาติ กิํ? อิจฺเจวตฺโถ, สมุทฺโทเตว สงฺขฺยํ คจฺฉติฯ
สุตฺตวิภตฺเตน เอวสทฺเท ปเร อญฺญติ-การสฺส วตฺตํฯ วิลปตฺเวว โส ทิโช[๔๘] , อนุเสตฺเววสฺส กามราโค, อนุเสตฺเววสฺส รูปราโค อนุเสติ+เอว+อสฺสาติ เฉโท, โหตฺเวว การิยสนฺนิฏฺฐานํ, โหเตว วาฯ

----------------------

๔๐. วิติสฺเสเว วา
เพราะ เอว ข้างหลัง อิ ของ อิติ ศัพท์ เป็น วฺ ได้บ้าง.

เอวสทฺเท ปเร อิติสทฺทสฺส อิ-การสฺส โว โหติ วาฯ
ในเพราะเอวศัพท์อันเป็นเบื้องหล้ง อิอักษร ของ อิติศัพท์ เป็น โว ได้บ้าง.

อิเตฺวว โจโร องฺคุลิมาโล = อิติ เอว โจโร องฺคุลิมาโล
สมุทฺโทตฺเวว คจฺฉติ = สมุทฺโท อิติ เอว คจฺฉติ
มหาอุทกกฺขนฺโธตฺเวว สงฺขฺยํ คจฺฉติ = มหาอุทกกฺขนฺโธ อิติ เอว สงฺขฺยํ คจฺฉติ
มหาสมฺมโตตฺเวว ปฐมํ อกฺขรํ นิพฺพตฺตํ = มหาสมฺมโต อิติ เอว ปฐมํ อกฺขรํ นิพฺพตฺตํ
อิสิคิลิตฺเวว สมญฺญา อโหสิ = อิสิคิลิ อิติ เอว สมญฺญา อโหสิ[๔๙]

วาติ กิํ?
ข้าพเจ้ากล่าววาศัพท์ไว้ในสูตรนี้เพื่อการไม่เป็น วฺ แห่งอิ ของ อิติ ก็มี ในอุทาหรณ์ว่า

อิจฺเจวตฺโถ = อิติ เอว อตฺโถ
สมุทฺโทเตว สงฺขยํ คจฺฉติ = สมุทฺโท อิติ เอว สงฺขยํ คจฺฉติ

สุตฺตวิภตฺเตน เอวสทฺเท ปเร อญฺญติ-การสฺส วตฺตํฯ
ด้วยการแบ่งสูตร ถ้ามี เอว อยู่หลัง ติของอักษรอื่นๆ เป็น วฺ ได้ เช่นกัน.  ตัวอย่างเช่น

วิลปตฺเวว โส ทิโช =วิลปติ เอว โส ทิโช
อนุเสตฺเววสฺส กามราโค, =อนุเสติ + เอว +  อสฺส กามราโค
อนุเสตฺเววสฺส รูปราโค =อนุเสติ+เอว+อสฺสา รูปราโค
โหตฺเวว การิยสนฺนิฏฺฐานํ โหติ เอว การิยสนฺนิฏฺฐานํ

โหเตว วา
ไม่เป็นไปตามหลักการนี้ก็มี คิอ เป็น โหเตว.

-----------------

๔๑. เอโอนม วณฺเณ[๕๐]
สรพฺยญฺชนภูเต วณฺเณ ปเร เอ, โอนํ อตฺตํ โหติ วาฯ  ตตฺถ เอสฺส อตฺตํ เยภุยฺเยน ม, ทาคเมสฺเวว โหติฯ
อกรมฺหส เต กิจฺจํ[๕๑]อกรมฺหเสตฺยตฺโถ, ทิสฺวา ยาจกมาคเต[๕๒], ทิสฺวา ปณฺฑิตมาคเต[๕๓], ยมาหุ นตฺถิ วีริยนฺติ[๕๔]เย+อาหุตฺยตฺโถฯ กทสฺสุ เก+อสฺสุ, ยเทว เต ชาตินิสฺสิตา, ตเทว เต ชรานิสฺสิตาเย+เอว, เต+เอวาติ เฉโท, สฺเว ภโว สฺวาตนํ[๕๕]พฺยญฺชเน ทีโฆฯ
โอมฺหิ
ส สีลวา[๕๖], ส ปญฺญวา, ส เว กาสาวมรหติ[๕๗], เอส อตฺโถ, เอส ธมฺโม[๕๘], ทินฺนมาสิ ชนินฺเทน[๕๙]    ทินฺโน+อาสีติ เฉโท, มคฺคมตฺถิ [๖๐]มคฺโค+อตฺถิ, อคฺคมกฺขายติ[๖๑], ปจฺจยาการเมว จ[๖๒], สงฺโฆ ปพฺพตมิว, สทฺโท จิจฺจิฏมิว, หิยฺโย ภโว หิยฺยตฺตนํ, ปาโต อสนํ ปาตราโส, ปาตมนุสิฏฺโฐ, กกุสนฺธ โกณาคมโน,         เถร วาทานมุตฺตโม กกุสนฺโธติ จ เถโรติ จ เฉโท, เถรวาโทติ อตฺโถฯ
สุตฺตวิภตฺเตน อนิมิตฺเตปิ โหติฯ ตุวญฺจ ธนุเสข จ[๖๓], ปจฺจยมหาปเทโส เหส, เอกโกฏฺฐาโส เอส,             อภิลาปมตฺตเภโท เอส อิจฺจาทิฯ

------------------------

๔๑. เอโอนม วณฺเณ
เพราะสระหรือพยัญชนะเป็นนิมิต เอ และ โอ จะเป็น อ.

สรพฺยญฺชนภูเต วณฺเณ ปเร เอ, โอนํ อตฺตํ โหติ วาฯ  
สระก็ตาม พยัญชนะก็ตาม เอ และ โอ  อาจเป็น อ ได้บ้าง.

ตตฺถ เอสฺส อตฺตํ เยภุยฺเยน ม, ทาคเมสฺเวว โหติฯ
การแปลงเอ และ โอ นั้น การแปลงเอ เป็น อ ส่วนมากจะใช้ในกรณีที่มี ม และ ท อาคมอยู่หลัง.

๑) ตัวอย่างในแปลงเอ เป็น อ
อกรมฺหส เต กิจฺจํ = อกรมฺหเส เต กิจฺจํ.
ทิสฺวา ยาจกมาคเต = ทิสฺวา ยาจเก อาคเต
ทิสฺวา ปณฺฑิตมาคเต = ทิสฺวา ปณฺฑิเต อาคเต
ยมาหุ นตฺถิ วีริยนฺติ = เย อาหุ นตฺถิ วีริยํ
กทสฺสุ = เก อสฺสุ
ยเทว เต ชาตินิสฺสิตา = เย+เอว เต ชาตินิสฺสิตา
ตเทว เต ชรานิสฺสิตา= เต+เอว เต ชรานิสฺสิตา

สฺเว ภโว สฺวาตนํ = สฺเว ภโว สฺเว ตนํ[๖๔]
พฺยญฺชเน ทีโฆฯ
รูปนี้ทีฆะเป็น สฺวา (เพราะ ตฺพยัญชนะที่ ตฺนํ)

โอมฺหิ
๒) ตัวอย่างในการแปลง โอ เป็น อ

ส สีลวา =  โส สีลวา
ส ปญฺญวา =  โส ปญฺญวา 
ส เว กาสาวมรหติ =  โส เว กาสาวํ อรหติ
เอส อตฺโถ = เอโส อตฺโถ,
เอส ธมฺโม = เอโส ธมฺโม
ทินฺนมาสิ ชนินฺเทน = ทินฺโน อาสิ ชนินฺเทน
มคฺคมตฺถิ = มคฺโค อตฺถิ,
อคฺคมกฺขายติ = อคฺโค อกฺขายติ
ปจฺจยาการเมว จ = ปจฺจยากาโร เอว จ
สงฺโฆ ปพฺพตมิว, = สงฺโฆ ปพฺพโต อิว
สทฺโท จิจฺจิฏมิว, = สทฺโท จิจฺจิโฏ อิว
หิยฺโย ภโว หิยฺยตฺตนํ, = หิยฺโย ตฺตนํ
ปาโต อสนํ ปาตราโส  = อาหารในเวลาเช้า (ปาโต เป็นนิบาตบอกอรรถว่าเช้า)
ปาตมนุสิฏฺโฐ = ปาโต อนุสิฏฺโฐ
กกุสนฺธ โกณาคมโน =, กกุสนฺโธ โกณาคมโน
เถร วาทานมุตฺตโม = เถโร วาทานํ อุตฺตโม

กกุสนฺโธติ จ เถโรติ จ เฉโท, เถรวาโทติ อตฺโถฯ
สองตัวอย่างนี้ตัดเป็น กกุสนฺโธ และ เถโร, ความหมายคือ เถรวาท[๖๕]

สุตฺตวิภตฺเตน อนิมิตฺเตปิ โหติฯ
ด้วยการแบ่งสูตร แม้ในที่ปราศจากนิมิต เอ หรือ โอ แปลงเป็น อ ก็ได้ เช่น

ตุวญฺจ ธนุเสข จ =  ตุวญฺจ ธนุเสโข จ[๖๖]
ปจฺจยมหาปเทโส เหส = ปจฺจยมหาปเทโส หิ เอโส
เอกโกฏฺฐาโส เอส = เอกโกฏฺฐาโส เอโส
อภิลาปมตฺตเภโท เอส = อภิลาปมตฺตเภโท เอโส[๖๗]


---------------------------------


๔๒. โคสฺสาวง [๖๘]
สเร ปเร โคสฺส อนฺตสฺส อวง โหติฯ
โค จ อสฺโส จ ควาสฺสํฯ

สุตฺตวิภตฺเตน พฺยญฺชเนปิฯ สควจณฺโฑ[๖๙], ปรควจณฺโฑฯ

อปฺปวิธานมุจฺจเตฯ
มหาวุตฺตินา อวณฺณสฺส อุตฺตํ, โอตฺตญฺจ
ปุถุชฺชโน, ปุถุภูโต-ปุถูติ วา เอโก ปาฏิปทิโก, ปุถุนา ปุถุนีติปิ ทิสฺสติ, อเปกฺขิยาโน อเปกฺขิยาน อเปกฺขิตฺวาตฺยตฺโถฯ เอวํ อนุโมทิยาโน, มรีจิกูปมํ อภิสมฺพุทฺธาโน, มา มํ ปิสาจา ขาทนฺตุ, ชีว ตฺวํ                สรโทสตํ[๗๐], รตฺติทิโวว โส ทิพฺโพ, มานุสํ สรโทสตํ-วสฺสสตนฺตฺยตฺโถ, อนุยนฺติ ทิโสทิสํ[๗๑], สมฺปตนฺติ ทิโสทิสํ - ตํ ตํ ทิสนฺตฺยตฺโถ,  ปโรสตํ, ปโรสหสฺสํ,  อญฺโญญฺญํ อญฺญมญฺญํ,   โปโนปุญฺญํ ปุนปฺปุนํ,              โปโนพฺภวิกา ตณฺหา-ปุโนติ วา เอโก นิปาโต, ปุโน ตสฺส มเห สิโน, ปุโน ปตฺตํ คเหตฺวาน, น จ ทานิ              ปุโน อตฺถิ, มม ตุยฺหญฺจ สงฺคโม, น ปุโน อมตาการํ, ปสฺสิสฺสามิ มุขํ ตว [๗๒]

-----------------------


๔๒. โคสฺสาวง
อว เป็น อาเทศของโอที่สุดของโคศัพท์ เพราะสระหลัง

สเร ปเร โคสฺส อนฺตสฺส อวง โหติฯ
เพราะสระข้างหลัง อว เป็นอาเทศ ของสระอันเป็นที่สุด แห่งโคศัพท์.

โค จ อสฺโส จ ควาสฺสํ = โค จ อสฺโส จ ควาสฺสํ (โคอสฺสํ)[๗๓]

สุตฺตวิภตฺเตน พฺยญฺชเนปิฯ
ด้วยการแบ่งสูตร ถึงในเพราะพยัญชนะข้างหลัง อว ก็เป็น อาเทศของสระที่สุดแห่งโคศัพท์ได้[๗๔]

สควจณฺโฑ = สโคจณฺโฑ โคที่ข่มเหงฝูงโคของตน[๗๕]
ปรควจนฺโฑ = ปรโคจณฺโฑ โคที่สงบเสงี่ยมต่อฝูงโคอื่น

อปฺปวิธานมุจฺจเตฯ
ต่อไปนี้จะกล่าวถึงวิธีที่มีใช้ไม่มาก[๗๖]

มหาวุตฺตินา อวณฺณสฺส อุตฺตํ, โอตฺตญฺจ
ด้วยมหาสูตร [๗๗]
๑) แปลง อและอา เป็น อุ และ โอ. ตัวอย่างเช่น
ปุถุชฺชโน = ปุถ ชโน[๗๘]

ปุถุภูโต วา เอโก ปาฏิปทิโก, ปุถุนา ปุถุนีติปิ ทิสฺสติ,
ปุถุภูโต = ปุถ ภูโต
การแปลงเป็น อ เป็น อุ ไม่แน่นอน เพราะ ปุถุ ที่เป็นนามศัพท์ประเภทหนึ่งก็มี เนื่องจากมีรูปแจกวิภัตติได้ เช่น ปุถุนา ปุถุนิ (ปุถูนิ ?).
อเปกฺขิยาโน อเปกฺขิยาน อเปกฺขิตฺวาตฺยตฺโถฯ
ตัวอย่างนี้ อเปกฺขิยาโน =   อเปกฺขิยาน.   คำว่า อเปกฺขิยาน คือ อเปกฺขิตฺวา[๗๙]

อนุโมทิยาโน = อนุโมทิยาน
มรีจิกูปมํ อภิสมฺพุทฺธาโน = มรีจิกูปมํ อภิสมฺพุทฺธาน[๘๐]  
มา มํ ปิสาจา ขาทนฺตุ, ชีว ตฺวํ สรโทสตํ,
รตฺติทิโวว โส ทิพฺโพ, มานุสํ สรโทสตํ
ในสองตัวอย่างนี้ สรโทสตํ = สรทสตํ
สรโทสตํ ก็คือ วสฺสสตํ แปลว่า ๑๐๐ ปี (โดยการนับของมนุษย์)[๘๑]

อนุยนฺติ ทิโสทิสํ,
สมฺปตนฺติ ทิโสทิสํ - ตํ ตํ ทิสนฺตฺยตฺโถ,
ในสองตัวอย่างนี้ ทิโสทสํ = ทิสทสํ ความหมายคือ ทั่วทุกทิศ.

ปโรสตํ,
ปโรสหสฺสํ,
สองตัวอย่างนี้ ปโร คือ ปร สตํ และ ปร สหสฺสํ

อญฺโญญฺญํ
อญฺญมญฺญํ,
สองตัวอย่างนี้ คือ อญฺญอญฺญํ.

โปโนปุญฺญํ ปุนปฺปุนํ,
ตัวอย่างนี้ โปโนปุญฺญํ = โปน ปุญฺญํ ได้แก่ ปุนปฺปุนํ บ่อยๆ  

โปโนพฺภวิกา ตณฺหา วา เอโก นิปาโต,
โปโนพฺภวิกา = โปน ภวิกา ได้แก่ ตัณหา [๘๒]
นอกจากนี้ ปุน ยังเป็นนิบาตศัพท์หนึ่ง เช่น
ปุโน ตสฺส มเหสิโน.
ของพระมเหสีเจ้านั้น (ผู้แสวงพระคุณยิ่งใหญ่ = พระพุทธเจ้า)

ปุโน ปตฺตํ คเหตฺวาน,
รับบาตรอีก.

น จ ทานิ ปุโน อตฺถิ, มม ตุยฺหญฺจ สงฺคโม,
บัดนี้การคบกันระหว่างเรากับเจ้าจักไม่มีอีก.

น ปุโน อมตาการํ,  ปสฺสิสฺสามิ มุขํ ตว
หม่อมฉันจะมิได้เห็นพระพักตร์ของพระองค์ผู้มีอาการปานน้ำอมฤตอีก.

--------------------------------------------

อิวณฺณสฺส อตฺตํ, อุตฺตํ, เอตฺตญฺจ
ตทมินาเปตํ ปริยาเยน เวทิตพฺพํ-ตํ เอตํ อตฺถชาตํ อิมินา ปริยาเยน เวทิตพฺพนฺติ อตฺโถ, สกิํ  อาคจฺฉติ สีเลนาติ สกทาคามี, อิตฺถิยา ภาโว อิตฺถตฺตํ, เอวุมํ เอวํ+อิมนฺติ เฉโท, ตฺวํ โน สตฺถา มหามุเน, อตฺถธมฺมวิทู อิเสฯ
อุวณฺณสฺส อิตฺตํ, โอตฺตญฺจ
มาติโต[๘๓], ปิติโต, มาติปกฺโข, ปิติปกฺโข, มาติโฆ[๘๔], ปิติโฆ, มตฺติกํ ธนํ[๘๕], เปตฺติกํ ธนํ, อปิ โน  ลจฺฉสิ, กจฺจิ โน ตุมฺเห ยาเปถ, กถํ โน ตุมฺเห ยาเปถ, โสตุกามตฺถ โน ตุมฺเห ภิกฺขเว, น โน สมํ อตฺถิ[๘๖], น หิ โน สงฺกรนฺเตน[๘๗], นตฺถิ โน โกจิ ปริยาโย[๘๘]อิเมสุ ตีสุ นุสทฺโท เอกํสตฺเถ, โสสิโต โสตตฺโต เจว [๘๙]สุฏฺฐุ สีตโล สุฏฺฐุ สนฺตตฺโตตฺยตฺโถ, ชมฺพุนทิยา ชาตํ ชมฺโพนทํฯ
เอสฺส อิตฺตํ
โอกนฺทามสิ ภูตานิ, ปพฺพตานิ วนานิ จ[๙๐]อวกนฺทามเสตฺยตฺโถ, ยํ กโรมสิ พฺรหฺมุโน, ตทชฺช ตุยฺหํ ทสฺสาม[๙๑], อิธ เหมนฺตคิมฺหิสุ[๙๒], พุทฺธปจฺเจกพุทฺธิสุ, เจเตหิ เจตปุตฺติหิ [๙๓]เจตปุตฺเตหิ สทฺธินฺตฺยตฺโถฯ
โอสฺส อุตฺตํ
มนุญฺญํ, น เตนตฺถํ อพนฺธิสุ [[๙๔]โส เตน วจเนน อตฺถํ น อพนฺธิ น ลภีตฺยตฺโถฯ อวฺหายนฺตุ             สุ  ยุทฺเธน[๙๕]โส ปหารวจเนน มํ อวฺหยนฺโตตฺยตฺโถฯ อปิ นุ หนุกา สนฺตา[๙๖]โน หนุกา เอกนฺตํ ขินฺนา ทุกฺขปตฺตาตฺยตฺโถฯ
วิการสนฺธิปิ อาเทสสนฺธิรูปตฺตา อิธ สงฺคยฺหติฯ

อิติ สราเทสราสิฯ

**********************************

อิวณฺณสฺส อตฺตํ, อุตฺตํ, เอตฺตญฺจ
๒) แปลง อิ วัณณะ เป็น อ , อุ และ เอ
(แปลง อิ อี เป็น อ)
ตทมินาเปตํ ปริยาเยน เวทิตพฺพํ  - ตํ เอตํ อตฺถชาตํ อิมินา ปริยาเยน เวทิตพฺพนฺติ อตฺโถ,
ตทมินา = ตํ อิมินา.  หมายความว่า เนื้อความนั้นพึงทราบโดยวิธีนี้.[๙๗]

สกิํ อาคจฺฉติ สีเลนาติ สกทาคามี,
สกทาคามี = สกึ อาคามี หมายถึง ผู้มาสู่โลก (มนุษย์) นี้อีกครั้งเดียว[๙๘]

อิตฺถิยา ภาโว อิตฺถตฺตํ,
อิตฺถตฺตํ =  อิตฺถี + ตฺต (ปัจจัย) ความหมายคือ ภาวะของหญิง[๙๙]

(แปลง อิ เป็น อุ)
เอวุมํ เอวํ+อิมนฺติ เฉโท
เอวุมํ แยกเป็น เอวํ อิมํ [๑๐๐]

(แปลง อิ เป็น เอ)
ตฺวํ โน สตฺถา มหามุเน,
ตฺวํ โน สตฺถา มหามุเน =  มหามุนิ

อตฺถธมฺมวิทู อิเส
อตฺถธมฺมวิทู อิเส =  อิส [๑๐๑]


------------------------------



๓) อุวณฺณสฺส อิตฺตํ, โอตฺตญฺจ
แปลง อุวัณณะเป็น อิ และ โอ

(อุ เป็น อิ)
มาติโต = มาตุ โต
ปิติโต = ปิตุ โต
มาติปกฺโข, = มาตุ ปกฺโข
ปิติปกฺโข = ปิตุ ปกฺโข
มาติโฆ = มาตุ โฆ (ผู้ฆ่ามารดา)
ปิติโฆ =  ปิตุ โฆ (ผู้ฆ่าบิดา)
มตฺติกํ ธนํ  =  มาตุ + ณิก ธนํ[๑๐๒]
เปตฺติกํ ธนํ = ปิตุ + ณิก ธนํ[๑๐๓]
อปิ โน ลจฺฉสิ, =  อปิ นุ ลจฺฉสิ
กจฺจิ โน ตุมฺเห ยาเปถ = กจฺจิ นุ ตุมฺเห ยาเปถ.
กถํ โน ตุมฺเห ยาเปถ, = กถํ นุ ตุมฺเห ยาเปถ.
โสตุกามตฺถ โน ตุมฺเห ภิกฺขเว,= โสตุกามตฺถ นุ ตุมฺเห ภิกฺขเว
น โน สมํ อตฺถิ = น นุ สมํ อตฺถิ
น หิ โน สงฺกรนฺเตน  = น หิ นุ สงฺกรนฺเตน
นตฺถิ โน โกจิ ปริยาโย =นตฺถิ นุ โกจิ ปริยาโย

 อิเมสุ ตีสุ นุสทฺโท เอกํสตฺเถ,
ในสามตัวอย่างนี้ นุ มีความหมายว่า อย่างเดียว, แน่นอน[๑๐๔]

(อุ เป็น โอ)
โสสิโต โสตตฺโต เจว สุฏฺฐุ สีตโล สุฏฺฐุ สนฺตตฺโตตฺยตฺโถ,
โสสิโต = สุสิโต, โสตตฺโต = สุตตฺโต[๑๐๕]. โสสิโต ความหมายคือ หนาวมาก, โสตตฺโต ความหมายคือ ร้อนมาก.

ชมฺพุนทิยา ชาตํ ชมฺโพนทํฯ
ชมฺพุนทํ = ชมฺโพนทํ คือ วัตถุอันเกิดแล้วในแม่น้ำชัมพุ [๑๐๖]

------------------------------

เอสฺส อิตฺตํ
๔) แปลง เอ เป็น อิ

โอกนฺทามสิ ภูตานิ, ปพฺพตานิ วนานิ จ อวกนฺทามเสตฺยตฺโถ,
โอกนฺทามสิ = โอกนฺทามเส ภูตานิ ปพฺพตานิ วนานิ จ. ความหมายคือ อวกนฺทามเส ย่อมยำเกรง

ยํ กโรมสิ พฺรหฺมุโน, ตทชฺช ตุยฺหํ ทสฺสาม.
ยํ กโรมสิ = ยํ กโรมเส พฺรหฺมุโน ตทชฺช ตุยฺหํ ทสฺสาม.

อิธ เหมนฺตคิมฺหิสุ  = อิธ เหมนฺตคิมฺเหสุ

พุทฺธปจฺเจกพุทฺธิสุ = พุทฺธปจฺเจกพุทฺเธสุ

เจเตหิ เจตปุตฺติหิ เจตปุตฺเตหิ สทฺธินฺตฺยตฺโถฯ
เจตปุตฺติหิ = เจตปุตฺเตหิ  หมายความว่า เจตปุตฺเตหิ สทฺธึ พร้อมด้วยเจตราชบุตร.[๑๐๗]

-------------------------
โอสฺส อุตฺตํ
๕) แปลง โอ เป็น อุ
มนุญฺญํ = มโน อญฺญํ

น เตนตฺถํ อพนฺธิสุ โส เตน วจเนน อตฺถํ น อพนฺธิ น ลภีตฺยตฺโถฯ
น เตนตฺถํ อพนฺธิสุ = น เตนตฺถํ อพนฺธิ โส. ความหมายคือ เขาไม่ได้รับประโยชน์เพราะคำนั้น

อวฺหายนฺตุ สุ ยุทฺเธนโส ปหารวจเนน มํ อวฺหยนฺโตตฺยตฺโถฯ
อวฺหายนฺตุ สุ ยุทฺเธน = อวฺหายนฺโต โส ยุทฺเธน.  ความหมายคือ เขาเมื่อทำร้ายเราไม่ได้ด้วยคำให้ร้ายนั้น

อปิ นุ หนุกา สนฺตา โน หนุกา เอกนฺตํ ขินฺนา ทุกฺขปตฺตาตฺยตฺโถฯ[๑๐๘]
อปิ นุ หนุกา สนฺตา = อปิ โน หนุกา สนฺตา. ความหมายคือ ขากรรไกร (ปาก) ของเราเมื่อยล้าคือถึงความลำบากโดยแน่แท้.

วิการสนฺธิปิ อาเทสสนฺธิรูปตฺตา อิธ สงฺคยฺหติฯ
ถึงวิการสนธิ (แปลงสระเป็นสระ) ก็รวมอยู่ในสราเทสสนธินี้ เพราะมีอุทาหรณ์เป็นสนธิแบบอาเทส.

อิติ สราเทสราสิฯ
กลุ่มวิธิการเข้าสนธิโดยอาเทสสระเป็นพยัญชนะ เป็นอย่างนี้.


*************************

 ขออนุโมทนา
สมภพ สงวนพานิช



[๑] [ก. ๑๘, ๑๙, ๒๑, ๔๕; นี. ๔๔, ๔๖, ๔๗, ๕๑, ๕๘]
[๒] [ธ. ป. ๓๗๖]
[๓]  [ปารา. ๓๘๓]
[๔] [ชา. ๒.๒๑.๑๔๙]
[๕] [ชา. ๒.๒๑.๙๔]
[๖] [ปารา. ๔๑๑]
[๗] [ทีฆนิกาเย]
[๘] [ปารา. ๓๐๕-๓๐๗]
[๙] [ที. นิ. ๑.๒๕๑]
[๑๐] [ชา. ๑.๗.๓๓]
[๑๑] [ที. นิ. ๑.๑๙๑]
[๑๒] [ปาจิ. ๔๖๕]
[๑๓] [ม. นิ. ๒.๓๐๘]
[๑๔] [มหาว. ๙]
[๑๕] [ปาจิ. ๓๒๘]
[๑๖] [มหาว. ๒๖, ๖๒]
[๑๗] [มหาว. ๙]
[๑๘] วุตติ จำต้องคงประโยคบาลีไว้ เพื่อให้เห็นแนวทางการแปลตัวสูตร.
[๑๙] (สำหรับอุทาหรณ์นี้ ลบนิคคหิต (ที่ กึ) ก่อนจึงแปลง อิ เป็น ย)
[๒๐] ทัพภปุปผชาดกอัฏฐกถา อธิบายคำว่า อจฺจายํ ว่า อจฺจายํ มชฺฌิโม ขณฺโฑติ อปิจ อยํ มชฺฌิโม โกฏฺฐาโสฯ อถ วา  อจฺจาติ อติจฺจ, อิเม ทฺเว โกฏฺฐาเส อติกฺกมิตฺวา ฐิโต อยํ มชฺฌิโม ขณฺโฑ ธมฺมฏฺฐสฺส วินิจฺฉยสามิกสฺส มยฺหํ ภวิสฺสตีติฯ ดังนั้น อจฺจายํ มาจาก อติ = อติกฺกมิตฺวา (บางแห่งเป็น อติ อิ ตฺวา) ก้าวล่วง หรือ เกิน + อยํ. ความหมายทั้งหมด ดังที่พระคันถรจนาจารย์อธิบายไว้อติเรโก อยํ มชฺฌิโม ขณฺโฑตฺยตฺโถ,
[๒๑] อปุติอณฺฑตา [ อ+ปุติ+อณฺฑ+ตา ] ความไม่เป็นไข่เน่า เป็นสำนวนพูด หมายถึง สภาวะปกติความปกติสุขการกำเนิดโดยไม่มีโรคภัยไข้เจ็บความสมบูรณ์หรือมั่นคง  ม.1/357. ในที่นี้เป็น อปุติ .. ที่จริงน่าจะเป็น อปูติ ...
[๒๒] อิของทุกศัพท์ที่กล่าวมา แปลง เป็น ยฺ ตามสูตรนี้ก่อน หลังจากนั้น แต่ละศัพท์สำเร็จรูปต่างกัน
๑) อิติ ปติ อติปุติ ตั้งรูปเป็น อิตฺย ก่อน จากนั้น แปลง ตฺ เป็น จฺยฺ จากนั้น แปลง ยฺ เป็น จฺ ที่เหมือนกับตน ได้รูปเป็น อิจฺจฺ นำประกอบพยัญชนะหลัง เป็น อิจฺเจตํ ที่เหลือมีนัยนี้.
เหตุผลในการแปลง ตฺ เป็น จฺ อยู่ในสูตร ๔๔. ตวคฺควรณานํ เย จวคฺคพยญา เพราะยที่เป็นอาเทศ ยปัจจัย หรือยวิภัตติ ข้างหลัง  พยัญชนะของตวรรค,  วฺ,  รฺ และ ญฺ จะแปลงเป็นพยัญชนะจวรรค พฺ ยฺ และ ญฺ ตามลำดับ.
เหตุผลในการแปลง จฺ เป็น ปุพพรูป อยู่ในสูตร ๔๓. วคฺคลเสหิ เตฯ แปลง ย เป็นอักษรที่อยู่ข้างหน้าตนในกรณีที่อยู่ท้ายพยัญชนวรรคทั้งหมดและ ล กับ ส อวรรค.
๒) อภิ เมื่อเป็น อภฺยฺ แล้ว แปลง ย เป็นปุพพรูป เหมือนก่อน เป็น อภฺภฺ แปลง ภฺ ตัวหน้าที่เป็น พยัญชนที่ ๔ ของ ปวรรค เป็น พฺ ที่เป็นพยัญชนะที่ ๓ ของปวรรค.
เหตุผลในการทำแปลงตัวที่ ๔ เป็นตัวที่ ๓ อยุ่ในสูตรที่ ๕๔. จตุตฺถทุติเยสฺเวสํ ตติยปฐมา ถ้ามีอักษรที่ ๔ และ ที่ ๒ ของแต่ละวรรคอยู่หลัง อักษรตัวที่ ๓ และ ตัวที่ ๑ ในวรรคนั้นเป็นตัวซ้อนของอักษรที่ ๓ และ ที่ ๔ เหล่านั้น.
๓) อธิ เมื่อเป็น อธฺยฺ แล้ว แปลง ธฺ ที่เป็น พยัญชนะในตวรรค เป็น พยัญชนะในจวรรค ในที่นี้ คือ แปลง ธฺ ตัวที่ ๔ ของตวรรคเป็นพยัญชนะตัวที่ ๔ ของจวรรค เป็น อฌฺยฺ แล้วแปลงยเป็นปุพพรูปแล้ว แปลง ฌฺ ต้วแรกที่เป็นพยัญชนะที่ ๔ เป็นพยัญชนะที่ ๓ คือ ชฺ  เป็น อชฺฌ)
อย่างไรก็ตาม ในกัจจายนไวยากรณ์ รวบรัดว่า ในอุทาหรณ์เหล่านี้ เพราะสระหลัง แปลง ติ ทั้งตัวเป็น จฺ, แปลงติ ของ อติ เป็น จฺ,   อภิ เป็น อพฺภ และ อธิ เป็น อชฺฌ ตามสมควร.
[๒๓] [ก. ๑๗, ๑๘; รู. ๑๙, ๒๐; นี. ๔๓, ๔๔]
[๒๔] [สุ. นิ. ๙๖๗]
[๒๕] [ม. นิ. ๑.๓๐]
[๒๖] [ชา. ๑.๑.๗]
[๒๗] [มหาว. ๗
[๒๘] [ชา. ๒.๒๒.๑๔๗๔]
[๒๙] [ที. นิ. ๒.๓๕]
[๓๐] [ที. นิ. ๑.๒๑๓
[๓๑] สุ. นิ. ๑๙๔
[๓๒] อุ.ว่า กฺยสฺส พฺยปถโย อสฺสุ และ กฺยสฺสุ อิธ โคจรา ทั้งสองนี้ อยู่ในคาถาเดียวกัน ปรากฏในคัมภีร์พระบาฬีสุตตนิบาต. สุตตนิบาตอรรถกถาแก้เป็น กฺยาสฺส พฺยปฺปถโย อสฺสูติ กีทิสานิ ตสฺส วจนานิ อสฺสุฯ คำพูดเช่นไรจะมีแก่ภิกษุเหล่านี้ อยู่. แต่พระบาฬีนั้น บาทคาถาที่ ๒ เป็น กฺยาสฺสสฺสุ อิธ โคจรากานิ สีลพฺพตานาสฺสุ, ปหิตตฺตสฺส ภิกฺขุโนฯ  แปลว่า โคจรเช่นไรเล่า พึงมีแก่ภิกษุนั้นในพระศาสนานี้. ศีลและพรตเหล่าใดจะพึงมีแก่ภิกษุผู้ส่งจิตไป (ยังพระนิพพาน) แล้ว. ตามพระบาฬีนี้ตัดบทเป็น เก อสฺส (ปุคฺคลสฺส) อสฺส
[๓๓] กรณีนี้ เจ อสฺส. แปลง เอ เป็น ยฺ ด้วยสูตรนี้ เป็น จฺยฺ อสฺส เพราะ อ แปลง จฺยฺ เป็น ฌฺ. นี้ว่าตามที่แกะรอยตามรูปศัพท์ได้ แต่หาสูตรรับรองไม่ได้ จึงได้แต่ตั้งข้อสังเกตไว้.
[๓๔] ข้อความนี้ไม่เข้าใจว่า ท่านหมายถึงอะไร? หรือจะหมายความว่า ในศัพท์อื่นที่ลักษณะคล้ายคลึงกัน อาจใช้วิธีนี้แสดงการตัดบทได้ เช่น ยทาสฺส ตัดเป็น ยทา อสฺส. ในอรรถกถามหานิบาตชาดก ๒/๑๔๗๖ แสดงการตัดบทเป็น ยทาสฺส สีลนฺติ ยทา อสฺส เสวกสฺส ราชา สีลญฺจ ปญฺญญฺจ โสเจยฺยญฺจ อธิคจฺฉติ. อุทาหรณ์นี้ในพระบาฬีเป็น ยฺยาสฺส ยฺยาสฺสุ. แม้ในปทรูปสิทธิ ก็เป็น ยฺยาสฺส = เย + อสฺส (ธรรมเหล่าใดอันบุคคลนั้นละแล้ว). หนังสือปท.มัญชรี ให้ทัสสนะว่า “สัททนีติปกรณ์ (สุตตมาลา สูตร ๔๓) กล่าวว่า รูปว่า ยฺยสฺส (อาจเขียนเป็น ยฺยาสฺส ตามรูปที่ปรากฏในฉบับปัจจุบัน) ไม่มีในพระบาลี เพราะ ยฺย สังโยคไม่ปรากฏในรูปว่า ยฺยสฺส แต่พบเป็นรูปว่า ยสฺส =เย + อสฺส, ยสฺสุ = เย + อสฺสุ, ยาภิวาทนฺติ = เย + อภิวาทนฺติ อย่างไรก็ดี ในอังคุตตรนิกาย ติกนิบาต (องฺ.๒๐.๙๒.๒๓๓) มีรูปว่า ยฺยสฺส ที่ตัดบทมาจาก เย + อสฺส (ฉบับฉัฏฐสังคายนามีรูปเป็น ยฺยาสฺส)]


[๓๕] [โมค. ๕-๑๓๖ (ยุวณฺณาน มิย งุ ว ง สเร)]
[๓๖] [มหาว. ๓๗
[๓๗] งอนุพันธ์ คืองอักษรที่แนบมากับการิยะ เพื่อระบุตำแหน่งที่มีการเปลี่ยนแปลงหรือสิ่งที่ต้องการให้ทำในสูตร.สำหรับงอนุพันธ์หมายความว่า อิย และ อุว ไม่ใช่เป็นอาเทสของบททั้งหมด แต่เป็นอาเทศของ อิ อี ท้ายบทเท่านั้น.
[๓๘] วิธีการเสนออุทาหรณ์ในที่นี้ คือ บทหนึ่งจะสำเร็จรูปได้สองนัย คือ ตามสูตรนี้และสูตร ยวา สเร (๓๖) ที่ผ่านมาแล้ว.
[๓๙] วิยตฺโต แปลว่า ผู้ฉลาด มีรูปวิ.ว่า ย่อมสามารถเพื่อแผ่ไปด้วยการแผ่ไปคือญาณ อย่างรวดเร็ว. มาจาก วิ อาป พฺยาปน แผ่ไป + ต ปัจจัย. แปลง อิ เป็น อิย ด้วยสูตรนี้ แปลงพยัญชนะท้ายธาตุเป็นปรรูป คือ  ตฺ ตาม ตปัจจัยข้างหลัง.
[๔๐] วิยูฬฺโห มาจาก อูห ในความหมายว่า สญฺจย ก่อตัว + ตปัจจัย. แปลง ต เป็น ซึ่งอยู่ชิดกันสระที่สุดของรุหเป็นต้นเป็น ห (วิอูหฺห) และแปลง หฺ ที่สุดธาตุ เป็น ฬฺ (วิอูฬฺห)ด้วยสูตร  ๗๕๔. รุหาทีหิ โห โฬ จ (มีความหมายดังกล่าว) แปลง อิ เป็น อิย ด้วยสูตรนี้ =  วิยูฬฺห.
[๔๑] ปริ + อาป  มีอรรถ ปริยาปุณน การเล่าเรียน  (ข้อความว่า ปริปุพฺโพ ปริยตฺติยํ, ปริยาปุณาติ, ปริยาปุณนฺติ               ในสูตร ๖๖๘. สกาปานํ กุกฺกุ กฺเณ และข้อความว่า อาป, ... สูท, สุป ในสูตร ๗๓๐. ปรรูปมยกาเร พฺยญฺชเน)  + ติ ปัจจัย (ปริอาปติ) มีวิ.ว่า ปริยาปุณนํ ปริยตฺติ การเล่าเรียน ชื่อว่า ปริยตฺติ  (สูตร ๗๓๒. อสฺสุ). แปลง ป ที่ อาป เป็น ตฺ สทิสสังโยคปรรูป ด้วยสูตร ๗๓๐. ปรรูปมยกาเร พฺยญฺชเนฯ (เพราะพยัญชนะ พยัญชนะท้ายธาตุเป็นรูปเดียวกับพยัญชนะหลัง) (ปริอาตฺติ) แปลง อิ ที่ปริ เป็น อิย ด้วยสูตรนี้ (ปริยาตฺติ) เป็นรัสสะเพราะสังโยคอยู่หลัง = ปริยตฺติ.
[๔๒] วิธีนี้เช่นเดียวกับ ปริยตฺติ มีที่มาในสูตร ๗๓๐ ปรรูปมยกาเร พฺยญฺชเน. ปริปุพฺโพ ปริยาปุณเน ปหุตฺเต จ, ปริยตฺโตฯ
[๔๓] ปริยาย เหตุให้ถึงความฉลาด (เข้าใจ) วิเคราะห์ว่า  ปริพฺยตฺตํ อายนฺติ เอเตนาติ ปริยาโย ย่อมมาถึงความฉลาด ด้วยวิธีนี้ เหตุนั้น วิธีนี้ ชื่อว่า ปริยาย. ปริ + เอ มีอรรถว่า อาคติ การมา + อณฺปัจจัย.  อาเทศ เออันเป็นที่สุดบท เป็น อาย เพราะอณฺปัจจัย (ข้อความว่า มหาวุตฺตินา เอทนฺตานํ ตฺยาทีสุ ตพฺพาทีสุ จ อายาเทโส, กฺวจิ ยโลโป, เอ-อาคติยํฯ ปริพฺยตฺตํ อายนฺติ เอเตนาติ ปริยาโยฯ ดู เอทนฺตธาตุรูป อาขยาต). อีกนัยหนึ่ง มาจาก อิ + อณฺ ปัจจัย แล้วแปลง อิ เป็น เอ จากนั้น ลง ยฺ อาคมท้ายธาตุ (ดูออาทิปจฺจยราสิ สูตรตั้งแต่ ๗๘๕. อาสฺสาณาปิมฺหิ ยุกฯ ลง ย อาคม ในเพราะปัจจัยที่มีณอนุพันธ์เว้นณาปิ ลง ย อาคมท้ายธาตุที่มีอาเป็นที่สุด)
[๔๔] รู. ๓๓ (ปิฏฺเฐ)
[๔๕] อุทา. ๔๕
[๔๖] ที. นิ. ๓.๑๓๑
[๔๗] ม. นิ. ๓.๑๓๓
[๔๘] ชา. ๑.๖.๑๐๓
[๔๙] แยกตามหลักการของสูตรนี้ว่า อิตฺวฺ + เอว เขียนรูปตามหลักอักขรวิธีของไทย คือ อิเตฺวว เพราะ ตฺวฺ เป็นสังโยค มีพยัญชนะสองตัวติดกันไม่มีสระคั่นกลาง แต่เอ นั้น เป็นสระของ ตฺวฺ พยัญชนสังโยค ดังนั้น จึงนำมาวางไว้ข้างหน้า ตฺว.
[๕๐] [ก. ๒๗; รู ๓๙; นี. ๖๖, ๑๖๓-๔]
[๕๑] [ชา. ๑.๔.๒๙]
[๕๒] [ชา. ๑.๗.๕๘; ๒.๒๒.๒๒๖๑]
[๕๓] [ชา. ๒.๒๒.๗๘๓]
[๕๔] [ชา. ๒.๑๘.๑๖๒]
[๕๕] [ปารา. ๒๒]
[๕๖] [ธ. ป. ๘๔]
[๕๗] [ธ. ป. ๑๐]
[๕๘] [ธ. ป. ๕]
[๕๙] [ชา. ๒.๒๒.๒๑๖๑ (ทินฺนมฺหาติ ชนินฺเทน)]
[๖๐] [วิภ. อฏฺฐ. ๑๘๙]
[๖๑] [อ. นิ. ๑.๔๗]
[๖๒] [วิภ. อฏฺฐ. ๒๒๕]
[๖๓] [ชา. ๑.๑๖.๒๓๙]
[๖๔] รูปนี้ลง ตนํ ปัจจัยท้าย สฺวเอ แปลง เอ เป็น อ ด้วยสูตรนี้ เป็น สฺวตน ทีฆะเป็น สฺวา เพราะ ตฺพยัญชนะที่ ตฺนํ
[๖๕]  คำว่า เถโร ในที่นี้ คือ เถรวาโท หมายความว่า เถรวาท คือ วาทะของพระเถระ คือพระอรหันต์ผู้ร่วมสังคายนาครั้งที่ ๑  เป็นเลิศแห่งวาทะทั้งหลาย.
[๖๖] ตตฺถ ธนุเสขจาติ ธนุเสโข จ, ธนุเสขกุมาโร จาติ อตฺโถฯ อุมฺมงฺคชาตกวณฺณนา เป็น ตฺวญฺเจว
[๖๗] ในกรณีนี้ เอโส อยู่ท้ายบาท จึงไม่มีสระหรือพยัญชนะอันเป็นนิมิตมาต่อท้าย ในที่นี้เช่นนี้ แปลง โอ เป็น อ ก็ควร เพราะตัดบทว่า วณฺเณ ที่เป็นนิมิตออกไป.
[๖๘] [ก. ๒๒, ๗๘; รู. ๒๘; นี. ๕๒, ๒๒๙]
[๖๙] [อ. นิ. ๔.๑๐๘]
[๗๐] [ชา. ๑.๒.๙]
[๗๑] [ที. นิ. ๓.๒๘๑]
[๗๒] [อป. เถรี ๒.๒.๒๓๕]
[๗๓] รูปนี้เป็นสมาหารทวันทสมาส จึงเป็น ควาสฺสํ. โอ ที่ โค เป็น อว
[๗๔] (แม้ สเร ตามมาจากสูตร ยวา สเร แต่การตัดแบ่งสูตรโดยไม่เอาตัวตามมา โดยไม่จำต้องมีสระเป็นนิมิต จึงแปลง โอ ของ โค เป็น อว เพราะพยัญชนะได้เช่นกัน)
[๗๕] อ่านพระบาฬีพลีพทฺทสุตฺตํ ๑๐๘. ในอัง.จตุกะ. และอรรถกถาฎีกาประกอบ
[๗๖]  อัปปวิธาน ตัวอย่างการใช้ที่มีน้อยแห่ง แต่ควรสังเกตและใส่ใจจำให้ดี เพราะบ่งถึงความเป็นพหูสูตรของผู้ศึกษา
[๗๗] มหาวุตติ คือ สูตรใหญ่ เป็นสูตรที่มีขอบเขตการใช้กว้างขวางครอบคลุมวิธีสำเร็จรูปศัพท์ที่ไม่มีสูตรกำกับโดยตรง ในที่นี้ได้แก่สูตร ตทิมินาทีนิ
[๗๘] ตัวอย่างนี้ ปุถุชฺชโน มาจาก ปุถ แยก + ชโน อ ที่ ปุถ เป็น อุ ตามวิธีนี้
[๗๙] แปลง ตฺวา ปัจจัยเป็น ยาน ด้วยสูตร ๗๖๒. ตุํยานาฯ ตฺวาสฺส ตุญฺจ ยานญฺจ โหนฺติ กฺวจิ สมาเส แปลง ตฺวา ปัจจัยเป็น ตุ และ ยาน ในสมาส ในบางแห่ง
[๘๐] พุธ-ญาเณ, พุชฺฌ, สมฺพุชฺฌ, อภิสมฺพุชฺฌ, พุชฺฌิย, พุชฺฌิยาน, ‘‘มรีจิกูปมํ อภิสมฺพุทฺธาโน’’ติ ปาฬิ, ปกติควรเป็น พุชฺฌิยาน โดยนัยก่อน แต่ในที่นี้คล้อยตามพระบาฬีว่า อภิสมฺพุทฺธาโน ตฺวา ไม่แปลงเป็น ยาน แต่เป็น อาน.  อนึ่ง ตามที่ท่านอ้างพระบาฬี ก็ไม่พบที่มาในปัจจุบัน.
[๘๑] มา มํ ปิสาจา ขาทนฺตูติ มํ ปิสาจา มา ขาทนฺตุฯ ชีว ตฺวํ สรโทสตนฺติ ตฺวํ ปน วีสุตฺตรํ วสฺสสตํ ชีวาติฯ สรโทสตญฺหิ คณิยมานํ วสฺสสตเมว โหติ, ตํ ปุริเมหิ วีสาย สทฺธิํ วีสุตฺตรํ อิธ อธิปฺเปตํฯ (ภคฺคชาตกวณฺณนา ขุ.ชา.๑/๘). คำว่า สรท เป็นศัพท์ที่แสดงความหมายว่า ปี เหมือน วสฺส สํวจฺฉร หายน และ สม  ดู ธา.คาถา ๘๑
[๘๒] ปุน ภวาย สํวตฺตตีติ โปโนพฺภวิโก, ปุนสฺส โอตฺตํ, ภสฺส ทฺวิตฺตํ, โปโนพฺภวิกา, ตณฺหา (สูตร ๔๖๔. ตสฺส สํวตฺตติ)
[๘๓] [ที. นิ. ๑.๓๐๓]
[๘๔] [ชา. ๒.๑๙.๑๑๘]
[๘๕] [ปารา. ๓๔]
[๘๖] [ขุ. ปา. ๖.๓]
[๘๗] [ม. นิ. ๓.๒๗๒]
[๘๘] [ชา. ๑.๕.๑๑๐ (น หิ โน โกจิ ปริยาโย)]
[๘๙] [ชา. ๑.๑.๙๔ โสตตฺโต โสสินฺโท เจว; ม. นิ. ๑.๑๕๗]
[๙๐] [ชา. ๒.๒๒.๒๑๗๓]
[๙๑] [ที. นิ. ๒.๓๗๐]
[๙๒] [ธ. ป. ๒๘๖]
[๙๓] [จริยา. ๑.๑๐๖]
[๙๔] ชา. ๑.๖.๗]
[๙๕] [ชา. ๒.๒๒.๘๗๑]
[๙๖] [ชา. ๑.๑.๑๔๖]
[๙๗] อิ ของ อิมินา เป็น อ ส่วนตํ ลบ นิคคหิต และลงทฺอาคม. (ปริยาย มีอรรถว่า วาร,  เหตุ และเทศนา (ม.อ. ๑ มูลปริยายสุตตวัณณนา)  ในที่นี้มีความหมาย วิธีการหรือแนวทาง ซึ่งยักความหมายจากอรรถว่าเทศนา)
[๙๘] สกึ ลบ นิคหิต แล้วแปลง อิ เป็น อา จึงเป็น สกทาคามี หมายถึง ผู้มาอีกครั้ง.
[๙๙] ได้แก่ อาการอย่างใดอย่างหนึ่งมีกิริยาที่ชดช้อย เป็นต้น (ดูอภิธรรมอัฏฐกถาประกอบ) ที่เป็นเหตุของชื่อว่า อิตถี.
[๑๐๐] ลบนิคหิตที่เอวํ ก่อน เอว และ แปลง อิ ที่ อิมํ เป็น อุ,
[๑๐๑] ข้าแต่ฤาษี (หรือแปลให้เห็นภาพชัดๆว่า ท่านผู้แสวงหาคุณ) ผู้รู้อรรถและธรรม.
[๑๐๒] (แปลว่า ทรัพย์ที่มาจากมารดา ความหมายคือ ทรัพย์ข้างมารดา หรือ ทรัพย์ที่เป็นของมารดา. มตฺติกํ คือ มาตุ > มาติโต  + ณิก  = อาคต มาแล้ว. รูปนี้ แปลง อุ ที่ มาตุ เป็น มาติ ในหลักการนี้ แล้วลง ณิก ปัจจัย แทนคำว่า อาคต แล้วซ้อน ตฺ เป็น มาตฺติก รัสสะเป็น มตฺติก. ดูสูตร ๔๖๕. ตโต สมฺภูตมาคตํ. และอรรถกถาพระวินัยว่า  มตฺติกนฺติ มาติโต อาคตํ; อิทํ เต มาตามหิยา มาตุ อิมํ เคหํ อาคจฺฉนฺติยา ทินฺนธนนฺติ อตฺโถฯ (ปารา. อฏฺ ๑/๓๔)
[๑๐๓] อญฺญํ เปตฺติกํ อญฺญํ ปิตามหนฺติ ยํ ปน เต ปิตุ จ ปิตามหานญฺจ สนฺตกํ, ตํ อญฺญํเยวฯ นิหิตญฺจ ปยุตฺตญฺจ อติวิย พหุ; เอตฺถ จ ปิตามหนฺติ ตทฺธิตโลปํ กตฺวา เวทิตพฺพํฯ เปตามหนฺติ วา ปาโฐ. (ปารา. อฏฺ ๑/๓๔). เปตฺติกนฺติ ปิติโต อาคตํ เปตฺติกํฯ (วิ.ฎี. ๒/๓๔)
[๑๐๔] การอธิบายแบบนี้แสดงว่า ในสามตัวอย่างข้างต้น นุ มีอรรถปุจฺฉน ถาม แปลว่า หรือ, บ้างหรือ?
[๑๐๕] [ชา. ๑.๑.๙๔ โสตตฺโต โสสินฺโท เจว; ม. นิ. ๑.๑๕๗] อรรถกถาชาดก อธิบายว่า โสตตฺโตติ สูริยสนฺตาเปน สุฏฺฐุ         ตตฺโตฯ โสสินฺโนติ หิโมทเกน สุสินฺโน สุฏฺฐุ ตินฺโตฯ
[๑๐๖] อุ ของ ชมฺพุ เป็น โอ = ชมฺโพนทํ. รูปนี้มาจาก ชมฺโพนที + ณ = ชาตํ เกิดแล้ว  เป็นบทลงตัทธิตปัจจัย กรณีที่ลง ณ ในอรรถชาต ด้วยสูตร ๓๗๖. ณ ราคา เตนรตฺตํ ตสฺเสทมญฺญตฺเถสุ จ แล้ว แปลง อิ ท้าย นทิ เป็น ด้วยสูตรใหญ่ (ว่าไปก่อน ตามตัวอย่างที่มีใช้ เช่น โกสมฺพิยํ ชาโต โกสมฺโพ, โกสมฺพา, โกสมฺพํ เพราะท่านแสดงไว้ด้วย อ อา การันต์ เป็นส่วนมาก ที่แสดงไว้ด้วย อิการันต์มีศัพท์นี้เท่านั้น)ฯ
[๑๐๗] แต่ในพระบาฬีนั้นเป็น เจเตหิ เจตปุตฺเตหิ (จริยา. ๑/๑๐๖) อยู่แล้ว.
[๑๐๘] ตตฺถ อปิ นุ หนุกา สนฺตาติ อปิ โน หนุกา สนฺตา, อปิ อมฺหากํ หนุกา กิลนฺตาฯ (สมุททชาดกวณฺณนา ๑/๑๔๖)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น