วันจันทร์ที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

ครั้งที่ ๙ สนธิกัณฑ์ สนธิวิธาน พยัญชนาเทสราสิ

พยญฺชนาเทสสนธิราสิ.
กวคฺคโต ปฏฺฐาย วคฺคาวคฺคพฺยญฺชนานํ อาเทโส ทีปิยเตฯ
๔๓. วคฺคลเสหิ เต
ปญฺจวคฺเคหิ จ ล, เสหิ จ ปรสฺส ยการสฺส กฺวจิ เต เอว วคฺค ล, สา โหนฺติ วา ยถากฺกมํ,  ย-กาโร                     ปุพฺพรูปตฺตํ อาปชฺชตีติ วุตฺตํ โหติฯ
นิปจฺจตีติ นิปโก, นิปกสฺส ภาโว เนปกฺกํ, วิปาโก เอว เวปกฺกํ, วตฺตพฺพนฺติ วากฺกํ, วากฺยํ วาฯ ปมุเข สาธุ ปาโมกฺขํ ยสฺส ปุพฺพรูปตฺเต กเต อาทิทุติยสฺส ปฐมตฺตํ, สุภคสฺส ภาโว โสภคฺคํ,โทภคฺคํภุญฺชิตพฺพนฺติ โภคฺคํ, ยุญฺชิตพฺพนฺติ โยคฺคํ, กุกฺกุจภาโว กุกฺกุจฺจํ, วตฺตพฺพนฺติ วาจฺจํ, วุจฺจเต, ปจฺจเต, วณิชานํ กมฺมํ วาณิชฺชํ, ภุญฺชิตพฺพนฺติ โภชฺชํ, ยุญฺชิตพฺพนฺติ โยชฺชํฯ

พยัญชนาเทสสนธิ
ต่อไปนี้ จะแสดงการใช้พยัญชนะอาเทศของพยัญชนวรรคและอวรรค ตั้งแต่ กวรรคเป็นต้นไป.
๔๓. วคฺคลเสหิ เตฯ
ย ที่อยู่หลัง พยัญชนวรรค , ล และ ส ให้แปลง ย เป็นพยัญชนะวรรค ล และ ส เหล่านั้น

หมายความว่า ในบางแห่ง มีการแปลง ย พยัญชนะ ที่อยู่ท้ายพยัญชนะวรรคทั้ง ๕, ล และ ส  เป็นพยัญชนะวรรคมี ก ข ค ฆ ง เป็นต้นนั่นแหละ, ล และ ส ไปตามลำดับ. และ ย เป็นปุพพรูป.
ตัวอย่าง
ปท
ปทจฺเฉท
คำแปลและอธิบายสังเขป
นิปกสฺส ภาโว เนปกฺกํ,
นิปก + ณฺย
ปัญญา. (วิ.) นิปจฺจตีติ นิปโก, นิปจฺจตีติ นิปโก, นิปกสฺส ภาโว เนปกฺกํ,
ย่อมยังกิเลสให้สิ้นสุดลง ชื่อว่า นิปโก คือ ผู้มีปัญญา (ปจ พยนฺตีกรเณ ในอรรถว่า ทำให้สิ้นสุด + ย ปัจจัย). ความเป็นผู้มีปัญญา ชื่อว่า เนปกฺก.
วิปาโก เอว เวปกฺกํ,
วิปาก + ณฺย
วิบาก หรือ ผลที่สุกงอม
รูปนี้เป็นสกัตถตัทธิต ว.วิปาโก เอว เวปกฺกํ เวปกฺก กับ วิปาก มีอรรถเหมือนกัน,
วตฺตพฺพนฺติ วากฺกํ, วากฺยํ วาฯ  
วจ + ณฺย

เสียงที่ถูกกล่าว, การกล่าว.
ถ้าไม่ทำตามสูตรนี้ที่มีรูปเดิมว่า วากฺยํ ดังนี้ ก็มี
ภุญฺชิตพฺพนฺติ โภชฺชํ,
ภุช (ธาตุ) + ณฺย
โภคฺคํ (ของกิน, การกิน)
ยุญฺชิตพฺพนฺติ โยชฺชํฯ
ยุช + ณฺย
การประกอบ, สิ่งที่ถูกประกอบ
ปมุเข สาธุ ปาโมกฺขํ
ยสฺส ปุพฺพรูปตฺเต กเต อาทิทุติยสฺส ปฐมตฺตํ,
ปมุข + ณฺย
ความดีในประธาน. ในรูปนี้ เมื่อแปลง ย เป็นปุพพรูปแล้ว (ย เป็น ขฺ) แปลงตัวที่๒ (คือ ขฺ)ของวรรคของบทหน้าเป็นตัวที่ ๑ ของวรรค (คือ กฺ)
สุภคสฺส ภาโว โสภคฺคํ,
สุภค + ณฺย
ความเป็นแห่งผู้มีความงาม
โทภคฺคํ,
ทุภค + ณฺย
ความเป็นผู้มีรูปไม่งาม
กุกฺกุจภาโว กุกฺกุจฺจํ,
กุกฺกุต+ ย
ความเดือดร้อนรำคาญใจ
วตฺตพฺพนฺติ วาจฺจํ,
วจฺ + ณฺย
เนื้อความที่ถูกกล่าว, วิเสสยะ
วุจฺจเต,
วจฺ + ย
อันเราจะกล่าว.
ปจฺจเต,
ปจฺ + ย
อันพ่อครัวหุงอยู่
วณิชานํ กมฺมํวาณิชฺชํ,
วนิช + ณฺย
การงานของพ่อค้า หรือการค้าขาย          
ภุญฺชิตพฺพนฺติ โภชฺชํ,
ภุชฺ + ณฺย
ของกิน
ยุญฺชิตพฺพนฺติ โยชฺชํฯ
ยุช + ณฺย
การประกอบ, สิ่งที่ถูกประกอบ


*********

๔๔. ตวคฺควรณานํ เย จวคฺคพยญา [1]
อาเทสภูเต วา วิภตฺติภูเต วา ปจฺจยภูเต วา ย-กาเร ปเร ตวคฺคานํว, , ณานญฺจ จวคฺค, , , ญาเทสา โหนฺติ วา ยถากฺกมํฯ
โปกฺขรญฺโญ, โปกฺขรญฺญา, โปกฺขรญฺญํ, สมณสฺส ภาโว สามญฺญํ, เอวํ พฺรหฺมญฺญํ, อิจฺเจตํ กุสลํ[2]           อิจฺจาทีนิ ยวา สเรติ สุตฺเต อุทาหฏานิฯ
ปณฺฑิตสฺส ภาโว ปณฺฑิจฺจํ, สนฺตสฺส ภาโว สจฺจํ, ตถสฺส ภาโวตจฺฉํ, ยชฺเชวํ-ยทิ+เอวํ, นชฺโช,  นชฺชา, นชฺชํ, สุหทสฺส ภาโว โสหชฺชํ, วตฺตพฺพนฺติ วชฺชํ, ฌานํ อุปสมฺปชฺช  วิหรติ[3], อุปสมฺปชฺชติ,  อชฺโฌกาโส, โพชฺฌงฺโค, โพชฺฌา, โพธิยา วา, พุชฺฌิตพฺพนฺติ โพชฺฌํ, พุชฺฌติ, โปโนปุญฺญํ,   ถนโต สมฺภูตํ ถญฺญํฯ

๔๔. ตวคฺควรณานํ เย จวคฺคพยญา [4]
เพราะ ย แปลง ต วรรค เป็น จวรรค, ว เป็น พ, ร เป็น ย, และ ณ เป็น ญ ได้บ้าง.
ย ที่เป็นอาเทศ, วิภัตติ หรือ ปัจจัย ถ้าอยู่หลังพยัญชนะ (ตวรรคเป็นต้น)[๑] จะมีการแปลงพยัญชนะเหล่านี้ คือ
ตวรรค เป็น จวรรค (คือ เป็น จ, เป็น ฉ, เป็น ช, เป็น ฌ,  เป็น ญ)
เป็น พ,
เป็น ย,
เป็น ญ
ตัวอย่าง
ปท
ปทจฺเฉท
คำแปลและอธิบายสังเขป
โปกฺขรญฺโญ,
โปกฺขรณี + โย
โปกฺขรญฺโญ สระบัวท.,
โปกฺขรญฺญา,
โปกฺขรณี + นา
โปกฺขรญฺญา ด้วยสระบัว,
โปกฺขรญฺญํ
โปกฺขรณี + สฺมึ
โปกฺขรญฺญํ ในสระบัว
สมณสฺส ภาโว สามญฺญํ
สมณ + ณฺย
ความเป็นแห่งสมณะ
พฺรหฺมญฺญํ,
พฺราหฺมณ + ณฺย
ความเป็นแห่งพราหมณ์
อิจฺเจตํ กุสลํ[5]   
อิติ + เอตํ
นี้เป็นกุศล
อิจฺจาทีนิ
อิติ + อาทีนิ
ดังนี้เป็นต้น
สองรูปนี้คือ อิจฺจาทีนิ อิจฺเจตํ เคยแสดงไว้ในสูตร ยวา สเร
ปณฺฑิตสฺส ภาโว ปณฺฑิจฺจํ,
ปณฺฑิต + ณฺย
ความเป็นบัณฑิต
สนฺตสฺส ภาโว สจฺจํ,
สนฺต + ณฺย

สัจจะ คือ ความเป็นสิ่งที่มีอยู่,  ธรรมอันมีในสัตบุรุษ (คือพระอริยะ)
ตถสฺส ภาโว ตจฺฉํ,
ตถ + ณฺย
ความว่างเปล่า
ยชฺเชวํ-ยทิ+เอวํ,
ยทิ + เอวํ
เมื่อเป็นอย่างนี้แล้วไซร้
นชฺโช,  
นที + โย
อ.แม่น้ำท.
นชฺชา,
นที + ยา
ด้วยแม่น้ำ
นชฺชํ,
นที + อํ = สฺมึ
ในแม่น้ำ
สุหทสฺส ภาโว โสหชฺชํ,
สุหท + ณฺย
โสหชฺชํ ความมีใจดี,
วตฺตพฺพนฺติ วชฺชํ,
วทฺ ธาตุ + ณฺย
วชฺชํ คำพูด,
ฌานํ อุปสมฺปชฺช  วิหรติ[6],
อุปสมฺปทฺ + ย = ตฺวา  
อุปสมฺปชฺช เข้าถึงแล้ว เช่น
[ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ[7] เข้าถึงฌานอยู่].
อุปสมฺปชฺชติ,  
อุปสมฺปทฺ + ย + ติ
ย่อมเข้าถึง
อชฺโฌกาโส,
อธิ + โอกาโส
ที่โล่งแจ้ง
โพชฺฌงฺโค,
โพธิ + องฺค
โพชฺฌงฺค องค์แห่งการตรัสรู้
โพชฺฌา, โพธิยา วา,
โพธิ + ยา = นา

ด้วยการตรัสรู้
ที่ไม่ใช้วิธีนี้เป็น โพธิยา,
พุชฺฌิตพฺพนฺติ โพชฺฌํ,
พุธฺ + ณฺย

การตรัสรู้. วิ.พุชฺฌิตพฺพนฺติ โพชฺฌํ การตรัสรู้ ชื่อว่า โพชฺฌ,  
พุชฺฌติ,
พุธฺ + ย + ติ,
ย่อมตรัสรู้
โปโนปุญฺญํ,  
ปุนปุน + ณฺย
บ่อยๆ
ถนโต สมฺภูตํ ถญฺญํฯ
ถน + ย

นมมารดา. วิ. ถนโต สมฺภูตํ ถญฺญํฯ
น้ำนมเกิดจากเต้านม ชื่อว่า ถญฺญํ


การแปลงพยัญชนะ ปวรรค
ปวคฺเค ยสฺส ปุพฺพรูปํ
วปฺปเต, ลุปฺปเต, อพฺภุคฺคโต, อพฺโภกาโส, อุสภสฺส ภาโว โอสพฺภํ, ลภิยเตติ ลพฺภํ, ลพฺภเต, คาเม หิตํ คมฺมํ, โอปมฺมํ, โสขุมฺมํ, อาคมฺม, อุปคมฺม, คมิยเตติ คมฺโม, เอวํ ทมฺโม รมฺโม, คมฺมเต, รมฺมเตฯ

ต่อไป คือ ย ที่จะกลายเป็นปุพพรูปในปวรรค ตัวอย่าง

ปท
ปทจฺเฉท
คำแปลและอธิบายสังเขป
วปฺปเต,
วปฺธาตุ= หว่าน+ ย
พืชอันเขาย่อมหว่าน
ลุปฺปเต,
ลุปฺ ธาตุ=ตัด + ย
หญ้าย่อมตัด
อพฺภุคฺคโต,
อภิ>อภฺย + อุคฺคโต 
ขึ้นไปแล้ว
อพฺโภกาโส,
อภิ>อภฺย+โอกาโส
ที่โล่งแจ้ง
อุสภสฺส ภาโว โอสพฺภํ,
อุสภ + ณฺย
ความประเสริฐ วิ. อุสภสฺส ภาโว โอสพฺภํ ความเป็นแห่งผู้ประเสริฐ.
ลภิยเตติ ลพฺภํ,
ลภฺ + ณฺย
การได้ ลภิยเตติ ลพฺภํ อันเขาย่อมได้ ชื่อ ลพฺภ,
ลพฺภเต,
ลภฺ=ได้ + ย + เต
ลพฺภเต วัตถุอันบุคคลย่อมได้,  
คาเม หิตํ คมฺมํ,
คาม + ณฺย

ของมีในบ้าน วิ. คาเม หิตํ คมฺมํ วัตถุอันเกื้อกูลในบ้าน ชื่อว่า คมฺม
โอปมฺมํ,
อุปมา + ณฺย
ความเป็นอุปมา,
โสขุมฺมํ,
สุขุม + ณฺย
ความเป็นผู้ละเอียดอ่อน,
อาคมฺม,
อา+คมฺ ไป+ย=ตฺวา
อาศัย
อุปคมฺม,
อุป+คมฺไป+ย=ตฺวา
อาศัย
คมิยเตติ คมฺโม,
คมฺ+ณฺย
การไป วิ. คมิยเตติ คมฺโม  การไป ชื่อว่า คมฺโม
เอวํ ทมฺโม
ทมฺ+ ณฺย
การฝึก
รมฺโม,
รมฺ + ณฺย
ความรื่นรมย์
คมฺมเต,
คมฺ=ไป+ ย +  เต
สถานที่ อันบุคคลไปอยู่,
รมฺมเต
รมฺ=รื่นรมย์+ย +เต
สถานที่อันบุคคลรื่นรมย์ ฯ


การแปลง อวรรคพยัญชนะ
ตวคฺค วรณาน…’นฺติ อิมินา สุตฺเตน ยมฺหิ รสฺส ยตฺตํ
กยฺยเต กริยเต, อยฺโย อริโยฯ
เพราะ ย ข้างหลัง แปลง ร เป็น ย ด้วยสูตร ตวคฺควรณานํ เย จวคฺคพยญา “เพราะ ย แปลง ต วรรค เป็น จวรรค, ว เป็น พ, ร เป็น ย, และ ณ เป็น ญ”. ตัวอย่าง

ปท
ปทจฺเฉท
คำแปลและอธิบายสังเขป
กยฺยเต กริยเต,
กร + ย + เต
อันเขาย่อมทำ ถ้าไม่ทำตามวิธีนี้ เป็น กริยเต
อยฺโย อริโยฯ
อริย
เจ้านาย (แปลง ร เป็น ยฺ แปลง ย เป็น ปุพพรูป)
มีรูปว่า อริโย ดังเดิม ก็มี


วคฺคลเสหิ เตติ ลโต ยสฺส ปุพฺพรูปํ
ปลฺลงฺโก, วิปลฺลาโส, โกสลฺลํ, ปตฺตกลฺลํฯ
แปลง ย เป็นปุพพรูป ด้วยสูตร  วคฺคลเสหิ เตฯ “ย ที่อยู่หลัง พยัญชนวรรค , ล และ ส ให้แปลง ย เป็นพยัญชนะวรรค ล และ ส เหล่านั้น” .  ตัวอย่าง

ปท
ปทจฺเฉท
คำแปลและอธิบายสังเขป
ปลฺลงฺโก,
ปริ > ปลิ > ปลฺย > ปลฺล + องฺโก
 บัลลังก์
วิปลฺลาโส,
วิปริ > วิปลิ > วิปลฺยฺ > วิปลฺลฺ + อาโส 
กลับ, ตรงข้าม,
โกสลฺลํ,
กุสล + ณฺย > โกสลฺย
ความฉลาดฯลฯ,
ปตฺตกลฺลํ
ปตฺต กล + ณฺย > กลฺย > กลฺล
ความพร้อม


ตวคฺควรณาน…’นฺติ ยมฺหิ วสฺส พตฺตํ
ปุถพฺยา, ปุถพฺยํ, ภาตุ อปจฺจํ ภาตพฺโย, โกรพฺโย, ทิเว ภวํ ทิพฺพํ ทิพฺยํฯ
แปลง ว เป็น พ ในเพราะ ย ข้างหลัง ด้วยสูตร ตวคฺควรณานํ เย จวคฺคพยญา “เพราะ ย แปลง ต วรรค เป็น จวรรค, ว เป็น พ, ร เป็น ย, และ ณ เป็น ญ”. ตัวอย่าง

ปท
ปทจฺเฉท
คำแปลและอธิบายสังเขป
ปุถพฺยา
ปุถวี > ปุถวฺ + [นา >] ยา
โดยปฐวี
ปุถพฺยํ,
ปุถวี > ปุถวฺ + ยํ [สมึ] 
เหนือแผ่นดิน
ภาตุ อปจฺจํ ภาตพฺโย
ภาตุ + ณฺย > ภาตวฺย >ภาตพฺย
หลานอา วิ. ภาตุ อปจฺจํ ภาตพฺโย เหล่ากอ (ลูก) ของพี่ชาย ชื่อว่า ภาตพฺย
โกรพฺโย,
กุรุ + ณฺย > โกรพฺโย
พระราชบุตรของพระเจ้ากุรุ,
ทิเว ภวํ ทิพฺพํ, ทิพฺยํ
ทิว (สวรรค์) + ณฺย

ทิพย์ = สิ่งอันมีในสวรรค์ (เช่น กามคุณ). ในกรณีที่ไม่เป็นปุพพรูปเป็น ทิพฺยํ ก็มี

 ‘วคฺคลเสหิ เตติ สโต ยสฺส ปุพฺพรูปํ
รหสิ ภวํ รหสฺสํ, โสมนสฺสํ, โทมนสฺสํ, โสวจสฺสํ, โทวจสฺสํ-มโนคณตฺตา มชฺเฌ สาคโม, ภาสิตพฺพนฺติ ภสฺสํ, อาทิสฺส=อาทิสิตฺวา, อุทฺทิสฺส=อุทฺทิสิตฺวา, อุปวสฺส=อุปวสิตฺวา, สมฺผุสฺส=สมฺผุสิตฺวา, ตุสฺสติ, ทุสฺสติ, นสฺสติอิจฺจาทิฯ
แปลง ย ที่อยู่ท้าย ส เป็นปุพพรูป ด้วยสูตร  วคฺคลเสหิ เตฯ “ย ที่อยู่หลัง พยัญชนวรรค , ล และ ส ให้แปลง ย เป็นพยัญชนะวรรค ล และ ส เหล่านั้น” ตัวอย่าง

ปท
ปทจฺเฉท
คำแปลและอธิบายสังเขป
รหสิ ภวํ รหสฺสํ,
รห + ณฺย
เรื่องลับ วิ. รหสิ ภวํ รหสฺสํ, สิ่งมีในที่ลับ คือ รหสฺส
โสมนสฺสํ,
สุมน + ณฺย
ความเป็นคนมีใจดี  คือ โสมนัสเวทนา ได้แก่ สุขเวทนาที่เกิดทางใจ
โทมนสฺสํ,
ทุมน + ณฺย

ความเป็นคนมีใจเสีย คือ โทมนัสเวทนา ได้แก่ ทุกขเวทนาที่เกิดทางใจ.
โสวจสฺสํ,
สุวจ + ณฺย,
ความเป็นคนว่าง่าย
โทวจสฺสํ
-มโนคณตฺตา มชฺเฌ สาคโม,
โทวจ + ณฺย
ความเป็นคนว่ายาก
- ทั้ง ๔ ศัพท์นี้ เป็นมโนคณศัพท์ เพราะเหตุนั้น จึงต้องลงสฺอาคมท้าย รห เป็นต้น แล้วแปลง ย เป็น ส ปุพพรูป.
ภาสิตพฺพนฺติ ภสฺสํ,
ภสฺ + ณฺย

คำพูด วิ. ภาสิตพฺพนฺติ ภสฺสํ คำอันควรพูด ชื่อว่า ภสฺส
อาทิสฺส=อาทิสิตฺวา,
อาทิสฺ + ตฺวา >  ย
แสดงแล้ว
 เป็น อาทิสิตฺวา ก็มี
อุทฺทิสฺส=อุทฺทิสิตฺวา,
อุทฺทิส + ตฺวา >

ยกขึ้นแสดงแล้ว, เจาะจง, อุทิศ.
เป็น อุทฺทิสิตฺวา ก็มี,
อุปวสฺส=อุปวสิตฺวา,
อุปวสฺ + ตฺวา  >  ย 
อยู่จำแล้ว  เป็น อุปวสิตฺวา ก็มี
สมฺผุสฺส=สมฺผุสิตฺวา,
สํ + ตฺวา  >  ย
ถูกต้องแล้ว เป็น สมฺผุสิตฺวา ก็มี
ตุสฺสติ,
ตุสฺ + ย + ติ  
ย่อมยินดี,
ทุสฺสติ,
ทุสฺ + ย + ติ
ย่อมถูกประทุษร้าย,
นสฺสติ
นสฺ + ย + ติ
ย่อมหาย


การแปลงอสังโยคพยัญชนะ
๔๕. ตถนรานํ ฏฐณลา  ฯ
ฏ ฐ ณ และล ท. เป็นอาเทส ของ ต ถ น และร. ได้บ้าง

ตาทีนํ ฏาทิอาเทสา โหนฺติ วาฯ
ฏ เป็นต้น ใช้แทน ต เป็นต้น ได้บ้าง.

ตสฺส ฏตฺตํ
ปฏิหญฺญติ, ปฏคฺคิ ทาตพฺโพ, ปฏิจฺฉนฺโน, ปฏิปฺปนฺโน, พฺยาวโฏ, อุทาหโฏ, ทุกฺกฏํ อิจฺจาทิฯ
ใช้ ฏ แทน ต เช่น

บทเดิม
แปลงเป็น
คำแปลและอธิบายสังเขป
ปติหญฺญติ  
ปฏิหญฺญติ 
ย่อมฆ่า
ปตคฺคิ
ปฏคฺคิ
ไฟที่ตอบโต้
ปติจฺฉนฺโน
ปฏิจฺฉนฺโน
ปกปิดแล้ว
ปติปนฺโน
ปฏิปฺปนฺโน
ดำเนินไปแล้ว
พฺยาวโต
พฺยาวโฏ
พยามยามแล้ว,
อุทาหโต
อุทาหโฏ
ยกขึ้นแล้ว
ทุกฺกตํ
ทุกฺกฏํ
ทำไว้ไม่ดี.


ถสฺส ฐตฺตํ
ปีฬนฏฺโฐ[8], สงฺขตฏฺโฐ[9], อฏฺฐิํกตฺวา สุเณยฺย[10], อฏฺฐกถา อิจฺจาทิฯ
ใช้ ฐ แทน ถ เช่น

บทเดิม
แปลงเป็น
คำแปลและอธิบายสังเขป
ปีฬนตฺโถ
ปีฬนฏฺโฐ
มีสภาวะเบียดเบียน,
สงฺขตตฺโถ
สงฺขตฏฺโฐ
มีสภาวะถูกปรุงแต่ง
อตฺถิํ กตฺวา
อฏฺฐิํ กตฺวา สุเณยฺย
พึงสดับให้เข้ากระดูก (ฟังแล้วจำให้แม่น)
อตฺถกถา
อฏฺฐกถา
อรรถกถา (คำอธิบายความหมาย)




นสฺส ณตฺตํ
คามํ เนตีติ คามณิ, เสนํ เนตีติ เสนาณิ, ปณิธิ, ปณิธานํ, ปณิหิตํ, ปณาโม, ปริณาโม, โอณาโม, อุณฺณาโม, กรณียํ, กรณํ, ญาณํ, ตาณํ, ปมาณํ, สรณํ, คหณํ อิจฺจาทิฯ
ใช้ ณ แทน น.  เช่น

บทเดิม
แปลงเป็น
คำแปลและอธิบายสังเขป
คามนิ
คามณิ
คามํ เนตีติ คามณิ ผู้นำบ้านไป ชื่อว่า คามณิ. (หัวหน้าชุมชน)
เสนานิ
เสนาณิ
แม่ทัพ เสนํ เนตีติ เสนาณิ ผู้นำกองทัพไป ชื่อว่า เสนาณิ,
ปนิธิ
ปณิธิ
การวางไว้,
ปนิธิ
ปณิธานํ 
การตั้งไว้,
ปนิหิตํ
ปณิหิตํ,
(จิต) ที่ตั้งไว้แล้ว
ปนาโม
ปณาโม
นอบน้อม,
ปรินาโม
ปริณาโม,
เปลี่ยนแปลง
โอนาโม >
โอณาโม
น้อมไป,
อุนฺนาโม
อุณฺณาโม
ยกขึ้น,
กรนียํ
กรณียํ
กิจ,
กรนํ
กรณํ
การทำ,
ญานํ
ญาณํ
ความรู้,
ตานํ
ตาณํ
เครื่องต้านทาน,
ปมานํ
ปมาณํ
ประมาณ, กำหนด,
สรนํ
สรณํ
ที่ระลึก,การระลึก,
คหนํ
คหณํ
การถือเอา


รสฺส ลตฺตํ
ปลิโฆ, ปลิโพโธ, ปลิปนฺโน, ปลฺลงฺโก, ตลุโณ ตรุโณ, กลุนํ ปริเทวยิ[11], มหาสาโล, อฏฺฐสาลินี, นยสาลินี อิจฺจาทีนิฯ
ใช้ ล แทน ร เช่น

บทเดิม
แปลงเป็น
คำแปลและอธิบายสังเขป
ปริโฆ
ปลิโฆ
ไม้ขวาง
ปริโพโธ
ปลิโพโธ
เครื่องกังวล
ปริปนฺโน
ปลิปนฺโน,
พัวพัน
ปริองฺโก
ปลฺลงฺโก

ตรุโณ
ตลุโณ,  ตรุโณ,
อ่อนเยาว์
กรุนํ
กลุนํ
น่าสงสาร เช่น กลุนํ ปริเทวยิ คร่ำครวญอย่างน่าสงสาร,
มหาสาโร
มหาสาโล
ผู้มีทรัพย์มาก
อตฺถสารินี
อฏฺฐสาลินี
คัมภีร์อรรถกถาพระธัมมสังคณีปกรณ์ ชื่อว่า อัฏฐสาลินี (มีอรรถเป็นสาระ),
นยสารินี
นยสาลินี
มีนัยเป็นสาระ

 ***************

อิทานิ มหาวุตฺติวิธานมุจฺจเตฯ
ต่อไปนี้จะกล่าวถึงวิธีการนำมหาสูตร (สูตรใหญ่) มาใช้สำเร็จรูปศัพท์ที่ไม่ได้กล่าวไว้ในสูตรนี้

กสฺส ขตฺตํ
นิกฺขมติ, นิกฺขนฺโต, เนกฺขโม, ราชกิจฺจํ กโรตีติ ขตฺตา, กตฺตา วา
ใช้ ข แทน ก.  เช่น

บทเดิม
แปลงเป็น
คำแปลและอธิบายสังเขป
นิกฺกมติ
นิกฺขมติ
ย่อมออกไป
นิกนฺโต
นิกฺขนฺโต
ออกไปแล้ว
เนกฺกโม
เนกฺขโม
การออกไป
กตฺตา
ขตฺตา
อำมาตย์ ราชกิจฺจํ กโรตีติ ขตฺตา,
อำมาตย์ผู้ทำพระราชกิจ. ใช้รูปว่า กตฺตา ก็มี

ทตฺตญฺจ
สทตฺถปสุโต สิยา [12]
ใช้ ท แทน ก เช่น

บทเดิม
แปลงเป็น
คำแปลและอธิบายสังเขป
สกตฺถ
สทตฺถ
ประโยชน์ตน เช่น สทตฺถปสุโต สิยา [13] ควรขวนขวายในประโยชน์ตน

ยตฺตญฺจ
สยํ รฏฺฐํ หิตฺวาน, ปุปฺผทานํ ททาตีติ ปุปฺผทานิโย ปุปฺผทานิโก, สิปฺปลิวเน วสตีติ สิปฺปลิวนิโย สิปฺปลิวนิโก, กุมาริยา กุมาริกาฯ
ใช้ ย แทน ก เช่น

บทเดิม
แปลงเป็น
คำแปลและอธิบายสังเขป
สกํ

สยํ 
ของตน ตัวอย่างการใช้ เช่น สยํ รฏฺฐํ หิตฺวาน สละแว่นแคว้นของตน,
ปุปฺผทานิโก
ปุปฺผทานิโย
ผู้ให้ดอกไม้เป็นทาน วิ. ปุปฺผทานํ ททาตีติ ปุปฺผทานิโย = ผู้ให้ ซึ่งทานคือดอกไม้ ชื่อว่า ปุปฺผทานิย, ใช้รูปว่า ปุปฺผทานิก ก็มี
สิปฺปลิวนิโย
สิปฺปลิวนิโก

ผู้อยู่ป่าสิปปลิ วิ. สิปฺปลิวเน วสตีติ สิปฺปลิวนิโย ผู้อยู่ในป่าสิปลิ ชื่อว่า สิปฺปลิวนิย,
ใช้รูปว่า สิปฺปลิวนิก ก็มี,
กุมาริกา
กุมาริยา
เด็กหญิง ใช้รูปว่า กุมาริกา มากกว่า

ขสฺส คตฺตํ
เอฬมูโค เอฬมูโขฯ
ใช้ ค แทน ข เช่น

บทเดิม
แปลงเป็น
คำแปลและอธิบายสังเขป
เอฬมูโข >
เอฬมูโค
คนใบ้

คสฺส กตฺตํ
ลุชฺชตีติ โลโก, อาโรคฺยํ อภิสชฺเชตีติ ภิสกฺโก, กุลูปโก กุลูปโค, ขีรูปโก ขีรูปโค, คีวูปกํ คีวูปคํฯ
ใช้ ก แทน ค เช่น
บทเดิม
แปลงเป็น
คำแปลและอธิบายสังเขป
โลโค
โลโก
โลก วิ. ลุชฺชตีติ โลโก สภาวะที่มีการแตกสลาย ชื่อว่า โลก,
ภิสคฺโค
ภิสกฺโก
หมอรักษาโรค วิ. อาโรคฺยํ อภิสชฺเชตีติ ภิสกฺโก ผู้สลัดออกซึ่งความเป็นผู้มีโรค ชื่อว่า ภิสกฺก,
กุลูปโค
กุลูปโก
ภิกษุผู้เข้าไปในบ้าน ,
ขีรูปโค
ขีรูปโก
ทารกผู้ยังไม่หย่านม,
คีวูปคํ
คีวูปกํ
เครื่องประดับศีรษะ.

ฆสฺส หตฺตํ
สีฆชวตาย สีโหฯ
ใช้ ห แทน ฆ เช่น

บทเดิม
แปลงเป็น
คำแปลและอธิบายสังเขป
สีโฆ
 สีโห
ราชสีห์  วิ. สีฆชวตาย สีโห ชื่อว่า สีห เพราะเป็นสัตว์ที่วิ่งไปรวดเร็วฯ



จสฺส ฉตฺตํ
วินิจฺฉโย, อจฺฉริยํ, มจฺฉริยํ, รํสิโย นิจฺฉรนฺติ-นิคจฺฉนฺตีติ อตฺโถ
ใช้ ฉ แทน จ

บทเดิม
แปลงเป็น
คำแปลและอธิบายสังเขป
วินิจโย
วินิจฺฉโย
การตัดสิน, กำหนด
อาจริยํ > อจฺจริยํ >

อจฺฉริยํ
มีเป็นบางคราว เช่น มจฺฉริยํ  มา + อจฺฉริย, ไม่ควรแก่การปรบมือ 
นิจรนฺติ

นิจฺฉรนฺติ
ซ่านออก เช่น รํสิโย นิจฺฉรนฺติ รัศมีซ่านออก. คำว่า นิจฺฉรนฺติ คือ นิคจฺฉนฺติ ซ่านออกมา


ฉสฺส สตฺตํ
อตฺถิ สาหสฺส ชีวิตํ [14]-ฉาหํ+อสฺสาติ เฉโท, สฬายตนํฯ
ใช้ ส แทน ฉ

บทเดิม
แปลงเป็น
คำแปลและอธิบายสังเขป
ฉาหํ
สาหํ
๖ วัน เช่น อตฺถิ สาหสฺส ชีวิตํ เขามีชีวิตอยู่ ๖ วัน. บทว่า สาหสฺส ในตัวอย่างนี้ตัดบทเป็น ฉาหํ + อสฺส
ฉฬายตนํ
สฬายตนํ
อายตนะ ๖.

ชสฺส ทตฺตํ
ปรเสนํ ชินาตีติปสฺเสนที-มหาวุตฺตินา สรโลโป, รสฺส ปรรูปํ
ใช้ ท แทน ช เช่น

บทเดิม
แปลงเป็น
คำแปลและอธิบายสังเขป
ปสฺเสนชี


ปสฺเสนที
พระราชาพระนามว่า ปัสเสนทิ
ปรเสนํ ชินาตีติ ปสฺเสนที พระราชา ผู้รบชนะกองทัพฝ่ายข้าศึก ชื่อว่า ปสฺเสนที. มาจาก ปร + เสนา + ชิ รูปนี้ อา ที่ เสนา รัสสะ เป็น อ  และ แปลง เป็น สฺ เหมือน สข้างหลัง ด้วยมหาสูตร.


ยตฺตญฺจ
นิสฺสาย ชายตีติ นิโย, นิยโก วา, นิยํ ปุตฺตํฯ
ใช้ ย แทน ช เช่น

บทเดิม
แปลงเป็น
คำแปลและอธิบายสังเขป
นิโช >

นิโย
ผู้อาศัย คือ บุตร. วิ. นิสฺสาย ชายตีติ นิโย ผู้อาศัย เกิด ชื่อ นิย เช่น  นิยํ ปุตฺตํ บุตรผู้อาศัยเกิด
ที่เป็นรูปว่า นิยก ก็มี

ญสฺส ณตฺตํ
ปณฺณตฺติ ปญฺญตฺติ, ปณฺณาสํ ปญฺญาสํฯ ปณฺณวีสติ ปญฺจวีสติฯ
ใช้ ณ แทน ญ เช่น

บทเดิม
แปลงเป็น
คำแปลและอธิบายสังเขป
ปญฺญตฺติ
ปณฺณตฺติ
บัญญัติ,
ปญฺญาสํ
ปณฺณาสํ
สิบห้า
ปญฺจวีสติ
ปณฺณวีสติ
ยี่สิบห้า


นตฺตญฺจ
นามมตฺตํ น นายติ, อนิมิตฺตา น นายเร[15]น ปญฺญายนฺตีติ อตฺโถฯ
ใช้ น แทน ญ เช่น

บทเดิม
แปลงเป็น
คำแปลและอธิบายสังเขป
ญายติ

นายติ
ย่อมรู้
เช่น นามมตฺตํ น นายติ แม้แต่ชื่อ ก็ไม่มีใครรู้,
ญายเร

นายเร
ย่อมรู้
เช่น อนิมิตฺตา น นายเรเพราะไม่มีเหตุ จึงไม่มีใครรู้ คือ ไม่ปรากฏ.



ตสฺส กตฺตํ
นิยโก นิยโตฯ
ใช้ ก แทน ต เช่น

บทเดิม
แปลงเป็น
คำแปลและอธิบายสังเขป
นิยโต
นิยโก
ผู้เที่ยงแท้

ถตฺตญฺจ
นิตฺถิณฺโณ, นิตฺถรณํ, เนตฺถารํฯ
ใช้ ถ แทน ต เช่น

บทเดิม
แปลงเป็น
คำแปลและอธิบายสังเขป
นิตฺติณฺโณ
นิตฺถิณฺโณ
แผ่แล้ว
นิตฺตรณํ
นิตฺถรณํ
เครื่องปูลาด
เนตฺตารํ
เนตฺถารํ
ผู้นำ

นตฺตญฺจ
ชิโน, ปิโน, ลิโน, ปฏิสลฺลิโน, ปฬิโน, มลิโน, สุปิโน, ปหีโน, ธุโน, ปุโน, ลุโน, อาหุนํ, ปาหุนํฯ
ใช้ น แทน ต เช่น

บทเดิม
แปลงเป็น
คำแปลและอธิบายสังเขป
ชิโต
 ชิโน
ชนะแล้ว
ปิโต
ปิโน
อิ่มหนำ
ลิโต
ลิโน
แปดเปื้อนแล้ว
ปฏิสลฺลิโต
ปฏิสลฺลิโน
ซ่อนเร้น,
ปฬิโต
ปฬิโน
หงอกแล้ว,
มลิโต,
มลิโน
เศร้าหมองแล้ว
สุปิโต
สุปิโน,
ฝันแล้ว
ปหีโต
ปหีโน
เสื่อมแล้ว,
ธุโต
ธุโน
ขจัดแล้ว,
ปุโต
ปุโน
ชำระแล้ว,
ลุโต
ลุโน
เกี่ยว,ตัดแล้ว
อาหุตํ
อาหุนํ
บูชา,
ปาหุตํ
ปาหุนํ
เครื่องรับรองผู้มาเยือนฯ
ทสฺส ฑตฺตํ
ฉวฑาโห, ทิสาฑาโห, กายฑาโหฯ
ใช้ ฑ แทน ท เช่น
บทเดิม
แปลงเป็น
คำแปลและอธิบายสังเขป
ฉวทาโห
ฉวฑาโห
ไฟเผาศพ
ทิสาทาโห
ทิสาฑาโห
แสงสว่างในทิศ ได้แก่ แสงอาทิตย์ยามเช้าและเย็น
กายทาโห
กายฑาโห
ความเร่าร้อนในกายฯ


ฬตฺตญฺจ
ปริฬาโห, อาคนฺตฺวา ฉวํ ทหนฺติ เอตฺถาติ อาฬหนํ, สุสานํฯ
ใช้ ฬ แทน ท เช่น

บทเดิม
แปลงเป็น
คำแปลและอธิบายสังเขป
ปริทาห
ปริฬาโห
ความเร่าร้อน, ความแผดเผา
อาทหนํ
อาฬาหนํ

สุสาน วิ. อาคนฺตฺวา ฉวํ ทหนฺติ เอตฺถาติ อาฬหนํ, สุสานํฯ สถานที่เขามาเผาศพ เรียกว่า อาฬหน,  ได้แก่ สุสาน.


ตตฺตญฺจ
สุคโต, ตถาคโต, กุสิโต, อุทติ ปสวตีติ อุตุฯ
ใช้ ต แทน ท เช่น

บทเดิม
แปลงเป็น
คำแปลและอธิบายสังเขป
สุคโท
สุคโต
ผู้ตรัสดีแล้ว (พระพุทธเจ้า),
ตถาคโท
ตถาคโต
ผู้ตรัสเหมือนพระพุทธเจ้าพระองค์ก่อน (พระพุทธเจ้า)
กุสิโท
กุสิโต
คนเกียจคร้าน,
อุทุ
อุตุ
ฤดู, อากาศ วิ. อุทติ ปสวตีติ อุตุฯ ธรรมชาติที่หลั่งไหล ชื่อว่า อุตุ.



ธสฺส ทตฺตํ
เอกมิทาหํ ภิกฺขเว สมยํ [16]-อิธาติ วา นิปาโตฯ
ใช้ ท แทน ธ เช่น

บทเดิม
แปลงเป็น
คำแปลและอธิบายสังเขป
อิธ >

อิท
ในที่นี้ เช่น เอกมิทาหํ ภิกฺขเว สมยํ [17]ภิกษุท. ครั้งหนึ่ง ในที่นี้ เรานั้น”
อีกกรณีหนึ่ง อิธ เป็นเพียงนิบาต ไม่มีความหมาย ไม่ต้องแปล

หตฺตญฺจ
สาหุ ทสฺสนมริยานํ[18], สํหิตํ, วิหิตํ, ปิหิตํ, อภิหิตํ, สนฺนิหิตํ, ปณิหิตํ, สทฺทหติ, วิทหติ, ปิทหติฯ
ใช้ ห แทน ธ เช่น

บทเดิม
แปลงเป็น
คำแปลและอธิบายสังเขป
สาธุ >

สาหุ
ดี เช่น สาหุ ทสฺสนมริยานํ การได้เห็นพระอริยะท.เป็นการดี,
สํ + ธา > ห + ต
สํหิตํ
จัดแจง,
วิ + ธา > ตํ >
วิหิตํ
จัดแจง,
ปิ + ธา > ห + ตํ >
ปิหิตํ
ปิด,
อภิ + ธา > ห + ตํ
อภิหิตํ
ปรุงแต่ง, จัดแจง,
สํ + นิ + ธา > ห + ตํ
สนฺนิหิตํ
ฝังไว้
ป + นิ + ธา > ห + ต
ปณิหิตํ
ตั้งไว้,
สํ + ธา > ห + ติ >
สทฺทหติ
เชื่อถือ, เลื่อมใส, ศรัทธา,
วิ + ธา > ห + ติ >
วิทหติ,
จัดแจง
ปิ + ธา > ห + ติ 
 ปิทหติ
ปิดอยู่


นสฺส อุตฺตํ[๒]
อุปญฺญาโส=อุปนฺยาโส, ญาโย=นฺยาโย-นิจฺจํ เอติ ผลํ เอเตนาติ ญาโย, เญยฺยํ=เนยฺยํฯ
ใช้ ญ แทน น เช่น

บทเดิม
แปลงเป็น
คำแปลและอธิบายสังเขป
อุป ก่อน + นิ + อาส อยู่ใกล้ > อุปนฺยาโส
อุปญฺญาโส
วากยรัมภะ ข้อความมีในลำดับ, ข้อความที่ถูกวางไว้ในที่ใกล้แห่งข้อความแรก
นิ + เอ = นฺยาโย >
ญาโย
เหตุ กล่าวคือ อริยมรรค. วิ. นิจฺจํ เอติ ผลํ เอเตนาติ ญาโย, ผลย่อมเป็นไปอย่างแน่นอน ด้วยธรรมนี้ เหตุน้้น ธรรมนี้ ชื่อว่า ญาย เหตุ, มรรค
นี + เอยฺยํ = เนยฺยํ
เญยฺยํ
ควรนำไป.ควรรู้

ยตฺตญฺจ
เถนสฺส กมฺมํ เถยฺยํ, เถราธินนฺติ เถราเธยฺยํ, ปาติโมกฺขํ, ปราเธยฺยกํ ทุกฺขํฯ
ใช้ ย แทน น. เช่น

บทเดิม
แปลงเป็น
คำแปลและอธิบายสังเขป
เถนฺ + ณฺย = เถนฺยํ
เถยฺยํ
งานโจร, โจรกรรม. วิ. เถนสฺส กมฺมํ เถยฺยํ การงานของขโมย ชื่อว่า เถยฺย,
อธีน + ณยฺ  อาธีนฺย


เถราเธยฺยํ
อาศัยพระเถระ
เถราธินนฺติ เถราเธยฺยํ, ปาติโมกฺขํ. พระปาติโมกข์  ชื่อว่า เถราธินํ เพราะเป็นธรรมที่อาศัยแห่งพระเถระ.
ปราธีน ณฺย >
ปราเธยฺยกํ ทุกฺขํ
ทุกข์อันเนื่องแต่ผู้อื่นฯ

ปสฺส ผตฺตํ
นิปฺผชฺชติ, นิปฺผตฺติ, นิปฺผนฺนํฯ
ใช้ ผ แทน ป เช่น

บทเดิม
แปลงเป็น
คำแปลและอธิบายสังเขป
นิปฺปชฺชติ
นิปฺผชฺชติ
ย่อมสำเร็จ
นิปฺปตฺติ
นิปฺผตฺติ
ความสำเร็จ
นิปฺปนฺนํ
นิปฺผนฺนํ
สำเร็จแล้วฯ
พตฺตญฺจ
สมฺพหุลํ=สมฺปหุลํ, พหุสนฺโต น ภรติ [19]=ปหุ สนฺโต น ภรติฯ
ใช้ พ แทน ป เช่น

บทเดิม
แปลงเป็น
คำแปลและอธิบายสังเขป
สมฺพหุลํ
=สมฺปหุลํ,
มากด้วยกัน
ปหุสนฺโต >  
พหุสนฺโต
สามารถ เช่น ปหุสนฺโต น ภรติ = พหุสนฺโต น ภรติ [20] ผู้ใดสามารถ แต่ไม่พอกเลี้ยงบิดามารดา.[๓]


ภสฺส ผตฺตํ
อนนฺตํ สพฺพโตปผํ [21]

ใช้ ผ แทน ภ เช่น
บทเดิม
แปลงเป็น
คำแปลและอธิบายสังเขป
ปภํ >  

ปผํ

รู้แจ้ง เช่น
อนนฺตํ สพฺพโต ปผํ [22]ฯธรรมชาติที่รู้แจ้ง ไม่มีที่สุด แจ่มใส โดยประการทั้งปวง[๔]

มสฺส ปตฺตํ
จิรปฺปวาสิํ[23], หตฺถิปฺปภินฺนํ [24]
ใช้ ป แทน ม เช่น

บทเดิม
แปลงเป็น
คำแปลและอธิบายสังเขป
จิรํ ปวาสึ >  จิรมฺปวาสึ
จิรปฺปวาสิํ[25],
จากไปนาน
หตฺถึ ปภินฺนํ >  หตฺถิมฺปภินฺนํ >  
หตฺถิปฺปภินฺนํ [26]
ช้างตกมัน


ยสฺส วตฺตํ
ทีฆาวุ กุมาโร[27]  =ทีฆายุ กุมาโร, อายุํ ธาเรตีติ อาวุธํ=อายุธํ, อายุ อสฺส อตฺถีติ อตฺเถ อาวุโสติ นิปาโต, กสาโว=กสาโย, กาสาวํ=กาสายํ, สาลิํ ลุนาตีติ สาลิลายโก, ติณลายโกฯ
ใช้ ว แทน ย เช่น

บทเดิม
แปลงเป็น
คำแปลและอธิบายสังเขป
ทีฆายุ กุมาโร
ทีฆาวุ กุมาโร[28] 
ทีฆาวุกุมาร
อายุธํ
อาวุธํ

อาวุธ วิ. อายุํ ธาเรตีติ อาวุธํ วัตถุอันทรงไว้ซี่งอายุ (ชีวิต) ชื่อว่า อาวุธ,

อายุโส
อาวุโส
ผู้มีอายุ คำว่า อาวุโส นี้ เป็นนิบาตใช้ความหมายว่า อายุ อสฺส อตฺถิ ท่านผู้นี้มีอายุ.
กสาโย
กสาโว
น้ำฝาด, ยางไม้
กาสายํ
กาสาวํ
ผ้าย้อมน้ำฝาด
สาลิลายโก
สาลิลาวโก
คนเกี่ยวข้าว วิ. สาลิํ ลุนาตีติ สาลิลายโก ผู้เกี่ยวข้าวสาลี ชื่อว่า สาลิลายก,
ติณลายโก
ติณลาวโก
คนเกี่ยวหญ้าฯ

ลสฺส รตฺตํ
นีลํ ชลํ เอตฺถาติ เนรญฺชรา, ชลํ คณฺหิตุํ อลนฺติ อรญฺชโร, สสฺสตํ ปเรติ, อุจฺเฉทํ ปเรติ-ปเลตีติ อตฺโถ.ใช้ ร แทน ล เช่น

บทเดิม
แปลงเป็น
คำแปลและอธิบายสังเขป
เนลญฺชลา
> เนรญฺชรา

แม่น้ำเนรัญชรา วิ. นีลํ ชลํ เอตฺถาติ เนรญฺชรา แม่น้ำมีน้ำสีเขียว ชื่อว่า เนรญฺชรา,
อลญฺชลํ
> อรญฺชโร
ควรเพื่อถือเอาแม่น้ำ วิ. ชลํ คณฺหิตุํ อลนฺติ อรญฺชโร ควรเพื่อถือเอาซึ่งแม่น้ำ ชื่อว่า อรญฺชร,
ปเลติ >
ปเรติ
ย่อมไป,ถึง
วิ. สสฺสตํ ปเรติ, อุจฺเฉทํ ปเรติ-ปเลตีติ อตฺโถฯ ย่อมถึงความเห็นว่าเที่ยง, ย่อมถึงความเห็นว่าขาดสูญ. ความหมายคือ ปเลติ (รูปนี้ท่านว่ามาจาก ปล ในความไป )


วสฺส ปตฺตํ
ปิปาสติ ปิวาสติฯ
ใช้ ป แทน ว เช่น

บทเดิม
แปลงเป็น
คำแปลและอธิบายสังเขป
ปิวาสติ
ปิปาสติ
ย่อมดื่ม


พตฺตญฺจ
พฺยากโต, พฺยตฺโต, พฺยญฺชนํ, สีลพฺพตํ, นิพฺพานํ, นิพฺพุตํ, ทิพฺพํ, ทิพฺพติ, สิพฺพติ, กุพฺพติ, กุพฺพนฺโต, กฺรุพฺพติ, กฺรุพฺพนฺโต, อเสวิตพฺพตฺตา วาเรตพฺโพติ พาโล, ปพฺพชิโต, ปพฺพชฺชา อิจฺจาทิฯ
ใช้ พ แทน ว เช่น

บทเดิม
แปลงเป็น
คำแปลและอธิบายสังเขป
วฺยากโต
พฺยากโต
ทำให้แจ้ง, เปิดเผย, แสดงให้ชัด,
วฺยตฺโต
พฺยตฺโต
ฉลาด,
วฺยญฺชนํ
พฺยญฺชนํ
ทำให้แจ้ง, พยัญชนะ, กับข้าว, อวัยวะ
สีลวตํ
สีลพฺพตํ
ศีลและวัตร
นิวาน
นิพฺพานํ
นิพพาน,
นิวุตํ 
นิพฺพุตํ
ดับแล้ว
ทิวฺ +ณฺย > ทิวฺว
ทิพฺพํ
ทิพย์, กามคุณที่มีในเทวโลก,
ทิว + ย + ติ > ทิวฺวติ
ทิพฺพติ
ย่อมเล่น,
สิวฺ + ย + ติ > สิวฺวติ
สิพฺพติ
ย่อมเย็บ,
กรฺ + ย+ ติ > กุวฺวติ
กุพฺพติ
ย่อมทำ,
กรฺ + ย + อนฺต >
กุพฺพนฺโต
ทำอยู่, เมื่อทำ,
กรฺ + ย+ ติ
> กฺรุพฺพติ
ย่อมทำ,
กรฺ + ย + อนฺต
> กฺรุพฺพนฺโต
เมื่อทำ,
วร + ณ > พาโร >
พาโล
คนพาล  วิ. อเสวิตพฺพตฺตา วาเรตพฺโพติ พาโล, คนที่ควรถูกห้าม เพราะไม่ควรคบ ชื่อว่า พาล
ป + วชฺ + ต
ปพฺพชิโต
ผู้บวช,
ป + วชฺ + ณ
ปพฺพชฺชา
การบวช



สสฺส ฉตฺตํ
อุจฺฉิฏฺฐํ อวสิฏฺฐนฺตฺยตฺโถ.  ‘‘ทิพฺพา สทฺทา นิจฺฉรนฺติ,   รํสิโย [29]นิจฺฉรนฺตี’’ติ เอตฺถาปิ สสฺส ฉตฺตํ         อิจฺฉนฺติฯ
ใช้ ฉ แทน ส เช่น

บทเดิม
แปลงเป็น
คำแปลและอธิบายสังเขป
อุ + สิฏฺฐํ= อุสฺสิฏฺฐํ
อุจฺฉิฏฺฐํ
เหลือเดน,  คำนี้หมายถึง สิ่งที่เหลือ
นิ + สร + อนฺติ = นิสฺสรนฺติ
นิจฺฉรนฺติ
เปล่งเสียง, แผ่ซ่าน

นิจฺฉรนฺติ ในสองตัวอย่างนี้ว่า
ทิพฺพา สทฺทา นิจฺฉรนฺติ รัศมีย่อมแผ่ซ่านออก.
รํสิโย นิจฺฉรนฺติ ย่อมเปล่งเสียงทิพย์,
ท่านก็หมายเอาว่า แปลง ฉ เป็น ส.

ตตฺตญฺจ
อุตฺติฏฺฐปตฺตํ อุปนาเมนฺติ,[30] ‘‘อุตฺติฏฺเฐ นปฺปมชฺเชยฺยา’’ ติ เอตฺถ ปน อุทฺทิสฺส ติฏฺฐนํ อุตฺติฏฺฐนฺติ อตฺโถฯ ‘‘อุทฺทิสฺส อริยา ติฏฺฐนฺติ, เอสา อริยาน ยาจนา[31]’’ติ วุตฺตํฯ
ใช้ ต แทน ส เช่น
บทเดิม
แปลงเป็น
คำแปลและอธิบายสังเขป
อุ + สิส + ต = อุสฺสิฏฺฐ

อุตฺติฏฺฐ[32]

เหลือเดน เช่น
อุตฺติฏฺฐปตฺตํ อุปนาเมนฺติ[33]ยื่นบาตรรอันเหลือเดน (นัยนี้ได้จากสารัตถทีปนี วินยฎีกา)

แต่คำว่า อุตฺติฏฺฐ ในคำว่า อุตฺติฏฺเฐ นปฺปมชฺเชยฺย อย่าประมาทในบาตรซึ่งถือไปแสดง นี้ มาจาก อุทฺทิสฺส ติฏฺฐนํ การยืนแสดง. ดังนั้น คำว่า อุตฺติฏฺฐ นี้  จึงมีความหมายว่า บาตรที่ใช้เป็นเครื่องแสดงการขอ สมดังพระบาฬีนี้ว่า อุทฺทิสฺส อริยา ติฏฺฐนฺติ, เอสา อริยาน ยาจนา พระอริยะท. ย่อมยืนแสดง, นี้แหละเป็นการขอของพระอริยะท.[34]







หสฺส ฆตฺตํ
นิจฺจํ ทหติ เอตฺถาติ นิทาโฆ, ลฆุ ลหุฯ
ใช้ ฆ แทน ห เช่น

บทเดิม
แปลงเป็น
คำแปลและอธิบายสังเขป
นิ + ทาโห
นิทาโฆ
พื้นที่เขตเผาไหม้ วิ. นิจฺจํ ทหติ เอตฺถาติ นิทาโฆ. สถานที่หมกไหม้เป็นนิตย์ ชื่อว่า นิทาฆ.
ลหุ
ลฆุ
เร็ว, เบา.

ฬสฺส ฑตฺตํ
ครุโฑ ครุโฬฯ
ใช้ ฑ แทน ฬ เช่น
บทเดิม
แปลงเป็น
คำแปลและอธิบายสังเขป
ครุโฬ
ครุโฑ
ครุฑ.



อิติ พฺยญฺชนาเทสราสิ.
จบ กลุ่มการแปลงพยัญชนะ
จบ พยัญชนาเทสสนธิ


อ้างอิงท้ายเรื่อง


[๑] ย ที่เป็น อาเทส เช่น ย ที่มาจาก อิ, ที่เป็น วิภัตติ เช่น ย ที่ โย วิภัตติ  และ ที่ ยา อันเป็นอาเทสของ นา วิภัตติ เป็นต้น, ย ที่เป็น ปัจจัย เช่น ณฺย เป็นต้น
[๒] นสฺส ญตฺตํ อิติ มญฺเญ?
[๓]  (ฉบับสยามรัฐ, ฉัฏฐฯ ก็ เป็น ปหุสนฺโตอยู่แล้ว อาจเป็นปาฐะในยุคของพระคันถรจนาจารย์)
[๔] (ฉบับสยามรัฐ, ฉัฏฐฯ ก็ เป็น ปภํ อยู่แล้ว อาจเป็นปาฐะในยุคของพระคันถรจนาจารย์)



[1] [ก. ๒๖๙, ๔๑; นี. ๑๐๔, ๑๐๖, ๑๑๙, ๑๒๑-๕]
[2] [ปารา. ๔๑๑]
[3] [ธ. ส. ๑๖๐]
[4] [ก. ๒๖๙, ๔๑; นี. ๑๐๔, ๑๐๖, ๑๑๙, ๑๒๑-๕]
[5] [ปารา. ๔๑๑]
[6] [ธ. ส. ๑๖๐]
[7] [ธ. ส. ๑๖๐]
[8] [ปฏิ. ม. ๑.๑๗]
[9] [ปฏิ. ม. ๑.๑๗]
[10] [ชา. ๒.๑๗.๙๒]
[11] [ชา. ๒.๒๒.๒๑๕๑]
[12] [ธ. ป. ๑๖๖]
[13] [ธ. ป. ๑๖๖]
[14] [ชา. ๒.๒๒.๓๑๔]
[15] [วิสุทฺธิ. อฏฺฐ. ๑.๒๒๘]
[16] [ม. นิ. ๑.๕๐๑]
[17] [ม. นิ. ๑.๕๐๑]
[18] [ธ. ป. ๒๐๖]
[19] [สุ. นิ. ๙๘]
[20] [สุ. นิ. ๙๘]
[21] [ที. นิ. ๑.๔๙๙]
[22] [ที. นิ. ๑.๔๙๙]
[23] [ธ. ป. ๒๑๙]
[24] [ธ. ป. ๓๒๖]
[25] [ธ. ป. ๒๑๙]
[26] [ธ. ป. ๓๒๖]
[27] [มหาว. ๔๕๙]
[28] [มหาว. ๔๕๙]
[29] [วิ. ว. ๗๓๐]
[30] [มหาว. ๖๔],
[31] [ชา. ๑.๗.๕๙]
[32] สารตฺ.วิ.ฎี. ๓/๖๔ ฯ อุตฺติฏฺฐปตฺตนฺติ เอตฺถ อุจฺฉิฏฺฐ-สทฺทสมานตฺโถ อุตฺติฏฺฐ-สทฺโทฯ เตเนวาห ‘‘ตสฺมิญฺหิ มนุสฺสา อุจฺฉิฏฺฐสญฺญิโน, ตสฺมา อุตฺติฏฺฐปตฺตนฺติ วุตฺต’’นฺติฯ
[33] [มหาว. ๖๔],
[34] [ชา. ๑.๗.๕๙]

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น