ต่อไปนี้เป็นมิสสกาเทส
(การแปลงอักษรที่คละกัน)[๑]
อวสฺส
อุตฺตํ –
อุทฺธมฺโม, อุพฺพินโย, อุปฺปโถ, อุมฺมคฺโค,
อุญฺญา อวญฺญา, อุญฺญาตํ อวญฺญาตํ, อุชฺฌานสญฺญีฯ
อุ เป็นอาเทสของ
อว เช่น
ปท
|
ปทจฺเฉท
|
คำแปลและอธิบายสังเขป
|
อุทฺธมฺโม
|
อวธมฺโม
|
ออกไปจากธรรม (นอกธรรม,
ผิดธรรม)
|
อุพฺพินโย
|
อววินโย
|
ออกไปจากวินัย (นอกวินัย,
ผิดวินัย)
|
อวปโถ
|
อุปฺปโถ
|
ออกไปจากทาง (นอกทาง, ผิดทาง)
|
อวมคฺโค
|
อุมฺมคฺโค
|
ออกไปจากทาง[๒]
|
อวญฺญา
|
อุญฺญา
|
การดูหมิ่น
|
อวญฺญาตํ
|
อุญฺญาตํ
|
ผู้ถูกดูหมิ่น
|
อวฌานสญฺญี
|
อุชฺฌานสญฺญี
|
ผู้หมายจะเพ่งโทษ
|
โอตฺตญฺจ
–
โอนทฺโธ, โอกาโส, โอวาโท, โอโลกนํ
อิจฺจาทิฯ
กลุ่มอุทาหรณ์เหล่านี้
โอ เป็น อาเทศของ อว เช่น
ปท
|
ปทจฺเฉท
|
คำแปลและอธิบายสังเขป
|
โอนทฺโธ
|
อวนทฺโธ
|
รัดรึง
|
โอกาโส
|
อวกาโส
|
ช่องว่าง, โอกาส
|
โอวาโท
|
อววาโท
|
คำพร่ำสอน, การโอวาท
|
โอโลกนํ
|
อวโลกนํ
|
การแลดู
|
วสฺส
โอตฺตํ –
อุโปสโถ
–
อุปวสโถติ ฐิติ, โนนีตํ นวนีตํ, นิวตฺถโกโจ นิวตฺถกวโจ, โก เต พลํ มหาราช, โก นุ เต รถมณฺฑลํ– กฺวติ อตฺโถฯ โก เต ทิฏฺโฐ วา สุโต
วา, วานโร ธมฺมิโก อิติ, โก นุเม
โคตมสาวกา คตา-กฺว นุ+อิเมติ เฉโท, โสณฺณํ สุวณฺณํ อิจฺจาทิฯ
แปลง ว เป็น โอ
เช่น
ปท
|
ปทจฺเฉท
|
คำแปลและอธิบายสังเขป
|
อุโปสโถ
|
อุปวสโถ
|
(ฐิติ) ดำรงอยู่
|
โนนีตํ
|
นวนีตํ
|
เนยใส
|
นิวตฺถโกโจ
|
นิวตฺถกวโจ
|
สวมเกราะแล้ว
|
โก เต พลํ มหาราช,
โก นุ เต รถมณฺฑลํ
|
กฺว เต
กฺว นุ
|
ดูกรมหาบพิตร
ไพร่พลของพระองค์อยู่ที่ไหน
รถของพระองค์อยู่ที่ไหน
|
โก เต ทิฏฺโฐ วา สุโต วา, วานโร
ธมฺมิโก อิติ
|
กฺว เต
|
วานร ที่ตั้งอยู่ในธรรม
ท่านเคยเห็น เคยได้ยินว่ามีอยู่ในที่ไหนหรือ
|
โก นุเม โคตมสาวกา
|
กฺว + นุ + อิเม
|
พระสาวกของพระโคตมพุทธเจ้าเหล่านี้อยู่ที่ไหน
|
โสณฺณํ
|
สุวณฺณํ
|
ทองคำ
|
กุสฺส
กฺรุตฺตํ –
กฺรุพฺพติ
กุพฺพติฯ
กฺรุ เป็นอาเทส
ของ กุ เช่น
ปท
|
ปทจฺเฉท
|
คำแปลและอธิบายสังเขป
|
กฺรุพพติ
|
กุพฺพติ
|
ย่อมกระทำ
|
ตฺตสฺส
ตฺรตฺตํ –
อตฺรโช
ปุตฺโต,
เขตฺรโช ปุตฺโต อตฺตโช, เขตฺตโช, โคตฺรภู, วตฺรภู, จิตฺรํ,
วิจิตฺรํ, จิตฺตํ, วิจิตฺตํ,
อุตฺรสฺตมิทํ จิตฺตํ, อุตฺราสี ปลายี ,
ยาตฺรา จ เม ภวิสฺสติ อิจฺจาทิฯ
ตฺร
เป็นอาเทสของ ตฺต เช่น
ปท
|
ปทจฺเฉท
|
คำแปลและอธิบายสังเขป
|
อตฺรโช ปุตฺโต
|
อตฺตโช
|
บุตรผู้เกิดแต่ตน
|
เขตฺรโช ปุตฺโต
|
เขตฺตโช
|
บุตรผู้เกิดในที่ดินของตน
|
โคตฺรภู
|
โคตฺตภู
|
จิตที่ครอบงำโคตร (โคตรภูจิต)
|
วตฺรภู
|
วตฺตภู
|
เทวดาผู้ครอบงำอสูรชื่อว่าวัตระ
|
จิตฺรํ
|
จิตฺตํ
|
ด่าง
|
วิจิตฺรํ
|
วิจิตฺตํ
|
วิจิตร เป็นอย่างต่างๆ
|
อุตฺรสฺตมิทํ จิตฺตํ
|
อุตฺตสตํ
|
จิตนี้เป็นสภาพสะดุ้งหวาดหว่น
|
อุตฺราสี ปลายี
|
อุตฺตาสี
|
ผู้มีการสะดุ้งเป็นปกติ
เป็นผู้หลีกไป
|
ยาตฺรา จ เม ภวิสฺสติ
|
ยาตฺตา
|
การดำรงชีพได้ จักมีแก่เรา
|
ทสฺส
ทฺรตฺตํ –
อินฺทฺริยํ, สุโข อุทโย ยสฺสาติ สุขุทฺรยํ, ทุกฺขุทฺรยํ กมฺมํ[๓],
ปถวี อุนฺทฺริยฺยติ ภิชฺชตีตฺยตฺโถ[๔], มิตฺตทฺรุพฺโภ มิตฺตทฺทุพฺโภฯ
ทฺร เป็น อาเทส
ของ ท
ปท
|
ปทจฺเฉท
|
คำแปลและอธิบายสังเขป
|
อินฺทฺริยํ
|
อินฺท + อิย ปัจจัย
|
อินทรีย์ (ได้แก่ อินทรีย์ ๖)
|
สุโข อุทโย ยสฺสาติ สุขุทฺรยํ
|
สุข + อุทย
|
มีสุขเป็นกำไร (กุศลกรรม)
|
ทุกฺขุทฺรยํ กมฺมํ
|
ทุกฺข + อุทย
|
มีทุกข์เป็นกำไร (อกุศลกรรม)
|
ปถวี อุนฺทฺริยติ ,ภิชฺชตีตฺยตฺโถ
|
อุนฺทิยติ (อุทิ ธาตุ + ย + ติ)
|
แผ่นดิน ย่อมแตก คือ แยกออก.
|
มิตฺตทฺรุพฺโภ
|
มิตฺต + ทุพฺโภ
|
ผู้ทำร้ายมิตร (หักหลัง,
ทรยศ)
ใช้ในรูปเดิมเป็น มิตฺตทฺทุพฺโภ
ก็มี.
|
ภทฺรํ ภทฺทํ, อสฺโส ภทฺโร[๕], สทา ภทฺรานิ ปสฺสติ[๖], สพฺเพ ภทฺรานิ ปสฺสนฺตุ[๗], ภทฺรานิ ภทฺรานิ ยานานิ โยเชตฺวา[๘],
ลุทฺรํ[๙] ลุทฺทํฯ
ทฺร เป็น อาเทส
ของ ทฺท เช่น
ปท
|
ปทจฺเฉท
|
คำแปลและอธิบายสังเขป
|
ภทฺรํ
|
ภทฺทํ
|
ใช้ในรูปเดิมว่า ภทฺทํ ก็มี
(ความหรือสิ่ง) เจริญ, งาม, ดี
|
อสฺโส ภทฺโร
|
ภทฺโท
|
ม้าชั้นดี (ม้าอาชาไนย)
|
สทา ภทฺรานิ ปสฺสติ
|
ภทฺทานิ
|
คนดีย่อมประสบความดีงามเสมอ
|
สพฺเพ ภทฺรานิ ปสฺสนฺตุ
|
ภทฺทานิ
|
ขอสรรพสัตว์จงประสบสิ่งดีงาม
|
ภทฺรานิ ภทฺรานิ
ยานานิ โยเชตฺวา
|
ภทฺทานิ
|
สั่งให้ประกอบรถชั้นดี
(คันใหญ่)
|
ลุทฺรํ
|
ลุทฺทํ
|
ใช้ในรูปเดิมว่า ลุทฺทํ ก็มี
๑. อันทารุณ โหดร้าย, ๒.
นายพราน ลุทฺทก
|
พสฺส
พฺรตฺตํ –
พฺรหาวนํ, พฺรหนฺตํ วา วนปฺปติํ[๑๐], พฺรหฺมา, พฺราหฺมโณ – พาหิตปาปตฺตา
อรหา พฺราหฺมโณติ วุจฺจติ, พฺรหฺมุโน อปจฺจนฺติ
ชาติพฺราหฺมโณ วุจฺจติฯ
พฺร เป็น อาเทส
ของ พ
ปท
|
ปทจฺเฉท
|
คำแปลและอธิบายสังเขป
|
พฺรหาวนํ
|
พหาวนํ
|
ป่าใหญ่ (กว้าง)
|
พฺรหนฺตํ วา วนปฺปติํ
|
พหนฺตํ
|
ลมย่อมทำลายต้นไม้ใหญ่
ที่เจริญเติบโตก็ตาม,
(พห + อนฺต)
|
พฺรหฺมา
|
พหมา
|
พรหม (โดยสัททนัย คือ ผู้เจริญ
พหฺ ธาตุ วุทฺธิมฺหิ = เจริญ + ม ปัจจัย)
|
พฺราหฺมโณ
|
พาหฺมโณ
|
พราหมณ์, โดยสัททัตถนัย
(ตามรูปวิเคราะห์)
ก. พระอรหันต์
เพราะเป็นผู้ลอยบาปได้,
ข. พราหมณ์โดยกำเนิด
(ชาติพราหมณ์) เพราะเป็นเชื้อสายของพรหม.
|
ว, วีนํ พฺยตฺตํ –
พฺยโย=วโย,
วินาโสตฺยตฺโถ,
กิจฺจากิจฺเจสุ พฺยาวโฏ=วาวโฏ, ปงฺเก พฺยสนฺโน=วิสนฺโน[๑๑], พฺยมฺหิโต = วิมฺหิโต, พฺยมฺหํ=วิมานํ-มานสฺส มฺหตฺตํฯ
พฺย เป็น อาเทส
ของ ว และ วิ เช่น
ปท
|
ปทจฺเฉท
|
คำแปลและอธิบายสังเขป
|
พฺยโย
|
วโย
|
เป็น วโย เหมือนเดิมก็มี.
ความหมายคือ พินาศ
|
กิจฺจากิจฺเจสุ พฺยาวโฏ
|
วาวโฏ
|
ความขวนขวายในกิจน้อยใหญ่
|
ปงฺเก พฺยสนฺโน
|
วิสนฺโน
|
ไม่เข้าไป ในโคลนตม
|
พฺยมฺหิโต
|
วิมฺหิโต
|
น่าประหลาด, อัศจรรย์
|
พฺยมฺหํ
|
วิมานํ
|
วิมาน,ที่อยู่ของเทวดา.
ในรูปนี้นอกจากจะแปลง วิ เป็น พฺย แล้ว แปลง มาน เป็น มฺห ด้วย จึงเป็น พฺยมฺหํ.
|
กฺขสฺส
จฺฉตฺตํ –
อจฺฉิ=อกฺขิ, สจฺฉิ=สกฺขิ-สห อกฺขินา วตฺตตีติ อตฺเถ นิปาโต, ปจฺจกฺขนฺติ
อตฺโถฯ นิพฺพานํ สจฺฉิกโรติ[๑๒], มจฺฉิกา=มกฺขิกา, ลจฺฉี=ลกฺขี-สิรีติ อตฺโถฯ
จฺฉ เป็น อาเทศ
ของ กฺข เช่น
ปท
|
ปทจฺเฉท
|
คำแปลและอธิบายสังเขป
|
อจฺฉิ
|
อกฺขิ
|
ตา
|
สจฺฉิ
|
สกฺขิ
|
ประจักษ์. ศัพท์นี้เป็นนิบาต ในความหมายว่า เป็นไปกับตา หมายถึง เห็นต่อหน้าต่อตา.
|
นิพฺพานํ สจฺฉิกโรติ
|
สกฺขิกโรติ
|
ทำนิพพานให้ประจักษ์.
|
มจฺฉิกา
|
มกฺขิกา
|
แมลง
|
ลจฺฉี
|
ลกฺขี
|
ความโอ่อ่า, ศรี, สง่างาม.
|
มหาวุตฺตินา
อกฺขรสํขิตฺตํ โหติ –
อาเจโร
อาจริโย,
น มาตาปิตรสํวฑฺโฒ, อนาเจรกุเล วสํ[๑๓], อาเจรมฺหิ สุสิกฺขิตา[๑๔], พฺรหฺมเจโร พฺรหฺมจริโย, ติณฺหํ
ติขิณํ, ตณฺหา ตสิณา, สุณฺหา สุณิสา,
อภิณฺหํ อภิกฺขณํ, ปณฺโห ปุพฺพณฺโห, ปณฺเห วชฺโฌ มโหสโธ[๑๕], สุราเมรโย-สุราเมเรยฺโย, สุราเมเรยฺยปานานิ, โย นโร อนุยุญฺชติ [๑๖]ฯ
กมฺมธารโย= กมฺมธาเรยฺโย, ปาฏิหีรํ
ปาฏิเหรํ ปาฏิหาริยํ, อจฺเฉรํ อจฺฉริยํ, มจฺเฉรํ มจฺฉรํ มจฺฉริยํ อิจฺจาทิฯ
อุทาหรณ์ที่มีการย่ออักษร
ด้วยสูตรใหญ่ (มหาสูตร) เช่น
ปท
|
ปทจฺเฉท
|
คำแปลและอธิบายสังเขป
|
อาเจโร อาจริโย
|
อาจริโย
|
อาจารย์
|
น มาตาปิตรสํวฑฺโฒ,
อนาเจรกุเล วสํ
|
อนาจริกุเล
|
มิได้เติบโตในสำนักของบิดามารดา,
ไม่อยู่ในตระกูลอาจารย์
|
อาเจรมฺหิ สุสิกฺขิตา
|
อาจริยมฺหิ
|
ศึกษาดีแล้วใน (สำนัก) อาจารย์
|
พฺรหฺมเจโร
|
พฺรหฺมจริโย
|
พรหมจรรย์
|
ติณฺหํ
|
ติขิณํ
|
แข็งกล้า
|
ตณฺหา
|
ตสิณา
|
ความกระหาย, ความอยาก
|
สุณฺหา
|
สุณิสา
|
หญิงสะใภ้
|
อภิณฺหํ
|
อภิกฺขณํ
|
บ่อยๆ
|
ปณฺโห
|
ปุพฺพณฺโห
|
ก่อน
|
ปณฺเห วชฺโฌ มโหสโธ
|
ปุพฺพณฺเห
|
มโหสธบัณฑิต ควรถูกประหาร ก่อน
|
สุราเมรโย
|
สุราเมเรยฺโย
|
สุราและเมรัย (เครื่องมึนเมา)
|
สุราเมเรยฺยปานานิ,
โย นโร อนุยุญฺชติ
|
สุราเมรยปานานิ
|
นรชนใด มักดื่มสุราเมรัยเนืองๆ
|
กมฺมธารโย
|
กมฺมธาเรยฺโย
|
กรรมธารยสมาส
|
ปาฏิหีรํ ปาฏิเหรํ
|
ปาฏิหาริยํ
|
ปาฏิหาริย์ ธรรมที่กำจัดปฏิปักขธรรม
|
อจฺเฉรํ
|
อจฺฉริยํ
|
น่าอัศจรรย์
|
มจฺเฉรํ, มจฺฉรํ
|
มจฺฉริยํ
|
ความตระหนี่
|
อกฺขรวฑฺฒิปิ
โหติ –
เอกจฺจิโย
เอกจฺเจยฺโย เอกจฺโจ, มาติโย มจฺโจ, กิจฺจยํ
กิจฺจํ, ปณฺฑิติยํ ปณฺฑิจฺจํ, สุวามิ
สามิ, สุวามินิ สามินิ, สุวเกหิ
ปุตฺเตหิ สเกหิ ปุตฺเตหิ, สตฺตโว สตฺโต, ตฺวญฺจ อุตฺตมสตฺตโว[๑๗], เอวํ อุตฺตมสตฺตโว[๑๘] อิจฺจาทิฯ
แม้การเพิ่มอักษร
ก็ทำด้วยมหาสูตรเช่นกัน
ปท
|
ปทจฺเฉท
|
คำแปลและอธิบายสังเขป
|
เอกจฺจิโย
เอกจฺเจยฺโย
|
เอกจฺโจ
|
บางเหล่า
|
มาติโย
|
มจฺโจ
|
บุคคลที่จะพึงตายเป็นธรรมดา
|
กิจฺจยํ
|
กิจฺจํ
|
กิจ, สิ่งอันควรทำ
|
ปณฺฑิติยํ
|
ปณฺฑิจฺจํ
|
ความเป็นบัณฑิต
|
สุวามิ
|
สามิ
|
นาย
|
สุวามินิ[๑๙]
|
สามินิ
|
นายหญิง
|
สุวเกหิ ปุตฺเตหิ
|
สเกหิ ปุตฺเตหิ
|
ของตน เช่น
สเกหิ ปุตฺเตหิ ด้วยบุตรของตน
|
สตฺตโว
|
สตฺโต
|
สัตว์, บุคคล เช่น
ตฺวญฺจ อุตฺตมสตฺตโว
อนึ่ง ท่านเป็นอุดมบุคคล
เอวํ อุตฺตมสตฺตโว
อุดมบุคคล ย่อมเป็นเช่นนั้น,
|
อิติ
มิสฺสกาเทสราสิฯ
มิสสกาเทส คือ
การแปลงอักษรแบบคละกัน เป็นอย่างนี้
ขออนุโมทนา
สมภพ สงวนพานิช
[๑] มิสสกาเทส
คือ การแปลงอักษรที่คละกันไม่เจาะจงว่าเป็นพยัญชนะหรือสระ เช่น
แปลงสระคู่กับพยัญชนะเป็นสระ, แปลงสระเป็นพยัญชนะคู่,
แปลงพยัญชนะคู่เป็นพยัญชนะคู่, ลดอักษร, เพิ่มอักษร.
[๒] สํ.นิทาน.อ.๑๐๔.
[๓] [ม. นิ. ๒.๑๐๙]
[๔] [สํ. นิ. ๑.๑๕๘]
[๕] [ธ. ป. ๑๔๓]
[๖] [ที. นิ. ๒.๑๕๓]
[๗] [ชา. ๑.๒.๑๐๕]
[๘] [ที. นิ. ๒.๔๓]
[๙] ชา.
๒/๑๕๕๒
[๑๐] [ชา. ๑.๑.๑๔]
[๑๑] ในจิตฺตสมฺภูตชาดกเป็น
มชฺฌปงฺเก พฺยสนฺโน และ กามปงฺเก พฺยสนฺโน
[๑๒] [มิ. ป. ๕.๓.๑๒]
[๑๓] [ชา. ๑.๑.๙]
[๑๔] [ชา. ๑.๗.๘๒]
[๑๕] [ชา. ๑.๑๕.๓๒๔]
[๑๖] [ธ. ป. ๒๔๗]
[๑๗] [ชา. ๒.๒๑.๗๖]
[๑๘] [ชา. ๒.๒๑.๗๙]
[๑๙] (สุวามินี
- ตุณฺฑิลชาดก) ชา. ๑/๘๘
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น