วันอังคารที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2559

ทฺวิภาวสนธิ (แยก)

ทฺวิภาวสนฺธิ

ทวิภาวสนธิ
อาคมสนธิ คือ วิธีการเชื่อมบทโดยซ้อนอักษร

อถ ทฺวิภาวสนฺธิ ทีปิยเตฯ
ข้าพเจ้าจะแสดงทวิภาวสนธิ คือ การเชื่อมบทโดยการทำอักษร ๒ สองตัว (ซ้อน) สืบไป

วันอาทิตย์ที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2559

การลงนิคคหิตอาคม (แยก)

การลงนิคคหิตอาคม

๕๒. นิคฺคหีตํ[1]
๕๒. นิคฺคหีตํ
นิคคหิตเป็นอาคมได้บ้าง.

นิคฺคหีตํ กฺวจิ อาคตํ โหติ วาฯ
ในบางแห่ง นิคคหิต เป็นอักษรเพิ่มมาได้บ้าง.

อุปวสฺสํ โข ปน[2], นวํ ปน ภิกฺขุนา จีวรลาเภน[3],อปฺปมาโท อมตํ ปทํ[4],จกฺขุํ อุทปาทิ[5],อณุํถูลานิ[6], กตฺตพฺพํ กุสลํ พหุํ[7], อวํสิรา ปตนฺติ[8]
ตัวอย่างเช่น

วันจันทร์ที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2559

ส และ ห อาคม (แยก)

มหาวุตฺติวิธานมุจฺจเตฯ
จะกล่าวถึงวิธีการสำเร็จรูปด้วยมหาสูตร

สเร ปเร มนาทีหิ สาคโม
ในเพราะสระหลัง ลง ส เป็นอาคมท้าย มนศัพท์เป็นต้น

มนสิกาโร, มานสิโก, เจตสิโก, อพฺยคฺคมนโส นโร[1],ปุตฺโต ชาโต อเจตโส,อุเร ภโว โอรโส อิจฺจาทิฯ
ตัวอย่าง เช่น

วันพฤหัสบดีที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2559

ฬ อาคม (แยก)

๕๑. ฉา โฬ
สเร ปเร ฉมฺหา ฬาคโม โหติฯ
๕๑. ฉา โฬ
เพราะมีสระหลัง ลง ฬ เป็นอักษรอาคม ท้าย ฉ
ในเพราะสระอันเป็นเบื้องหลัง ลง ฬ อาคมท้าย ฉ.

ฉฬงฺคํ, ฉฬายตนํ, ฉฬาสีติสหสฺสานิ[1], อตฺถสฺส ทฺวารา ปมุขา ฉเฬเต[2], ฉเฬวานุสยา โหนฺติ[3], ฉฬภิญฺญา มหิทฺธิกา [4]
ตัวอย่าง

ปท
ปทจฺเฉท
คำแปลและอธิบายสังเขป
ฉฬงฺคํ,
ฉ + องฺคํ
มีองค์ ๖
ฉฬายตนํ,
ฉ + อายตนํ
อายตนะ ๖
ฉฬาสีติสหสฺสานิ,
ฉ + อสีติสหสฺสานิ
แปดหมื่นหกพัน
อตฺถสฺส ทฺวารา ปมุขา ฉเฬเต,
ฉ + เอเต
อุบายยอดเยี่ยม ๖ ประการเพื่อบรรลุประโยชน์
ฉเฬวานุสยา โหนฺติ,
ฉ + เอว
อนุสัยท. ๖ นั่นเทียว ย่อมมี
ฉฬภิญฺญา มหิทฺธิกา
ฉ + อภิญฺญา
เป็นผู้มีอภิญญา ๖ มีฤทธิ์มาก



[1] [เป. ว. ๓๗๔]
[2] [ชา. ๑.๑.๘๔]
[3] [อภิธมฺมตฺถสงฺคห]
[4] [พุ. วํ. ๓.๕]

วันพฤหัสบดีที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2559

ว อาคม (แยก)

โว
ว เป็นพยัญชนอาคม

ทุวงฺคุลํ, ทุวงฺคิกํ, ติวงฺคุลํ, ติวงฺคิกํ, ปาคุญฺญวุชุตา, วุสิตํ, วุตฺตํ, วุจฺจเต, อาสนา วุฏฺฐาติ[1], วุฏฺฐานํ, วุฏฺฐหิตฺวา,

ตัวอย่าง

ปท
ปทจฺเฉท
คำแปลและอธิบายสังเขป
ทุวงฺคุลํ,
ทุ + องฺคุลํ
สองนิ้ว
ทุวงฺคิกํ,
ทุ + องฺคิกํ
มีองค์สอง
ติวงฺคุลํ,
ติ + องฺคุลํ
สามนิ้ว
ติวงฺคิกํ,
ติ + องฺคิกํ
มีองค์สาม
ปาคุญฺญวุชุตา,
ปาคุญฺญ + อุชุตา
ความคล่องแคล่วและความซื่อตรง
วุสิตํ,
อุสิตํ (อุ + สี + ต)
อยู่แล้ว
วุตฺตํ,
อุตฺตํ (อุ กล่าว + ต)
กล่าวแล้ว
วุจฺจเต,
อุจฺจเต (อุจ + ย + ต)
อันเขาย่อมกล่าว
อาสนา วุฏฺฐาติ
อาสนา อุฏฺฐาติ
ลุกขึ้นจากอาสนะ
วุฏฺฐานํ,
อุฏฺฐานํ
การออก
วุฏฺฐหิตฺวา,
อุฏฺฐหิตฺวา
ออกแล้ว

ภิกฺขุวาสเน, ปุถุวาสเน, สยมฺภุวาสเน อิจฺจาทีนิ อุวณฺณนฺตรูปานิ วาคเมนาปิ สิชฺฌนฺติเยวฯ
อุทาหรณ์ในอุวัณณันตะ (อุ - อู การันต์) ย่อมสำเร็จแม้ด้วยการลงวอาคมเหมือนกัน เช่น

ปท
ปทจฺเฉท
คำแปลและอธิบายสังเขป
ภิกฺขุวาสเน,
ภิกฺขุ + อาสเน
บนอาสนะของภิกษุ
ปุถุวาสเน,
ปุถุ + อาสเน
บนอาสนะใหญ่
สยมฺภุวาสเน
สยมฺภู + อาสเน
บนอาสนะของพระสยัมภู (พระพุทธเจ้า)





[1] [ปาจิ. ๕๔๗]

วันพุธที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2559

ร อาคม (แยก)

โร
ร เป็น อาคม

นิรนฺตรํ, นิรตฺถกํ, นิราหาโร, นิราพาโธ, นิราลโย, นิรินฺธโน อคฺคิ, นิรีหกํ, นิรุทกํ, นิรุตฺติ, นิรุตฺตโร, นิรูมิกา นที, นิโรชํ, ทุรติกฺกโม, ทุรภิสมฺภโว, ทุราสทา พุทฺธา[1], ทุราขฺยาโต ธมฺโม[2], ทุราคตํ, ทุรุตฺตํ วจนํ[3], ปาตุรโหสิ[4], ปาตุรหุ[5], ปาตุรเหสุํ[6], ปาตราโส, ปุนเรติ, ธีรตฺถุ[7], จตุรงฺคิกํ ฌานํ[8], จตุรารกฺขา, จตุราสีติสหสฺสานิ, จตุริทฺธิลาโภ, จตุโรฆา, วุทฺธิเรสา[9], ปถวีธาตุเรเวสา[10], อาโปธาตุเรเวสา[11], สพฺภิเรว สมาเสถ, นกฺขตฺตราชาริว ตารกานํ, วิชฺชุริว อพฺภกูเฏ, อารคฺเคริว, อุสโภริว[12],

วันอังคารที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

ครั้งที่ ๑๕ นามกัณฑ์ : อิตถีปัจจยราสิ

อิตฺถิปจฺจยราสิ
กลุ่มศัพท์ที่ลงปัจจัยในอิตถีลิงค์

๗๐. อิตฺถิยมตฺวา [1]
๗๐. ลง อาปัจจัย ในอิตถีลิงค์ ท้ายนามศัพท์อการันต์

อิตฺถิยํ+อโต+อาติ เฉโทฯ อการนฺตนามมฺหา อิตฺถิยํ อาปจฺจโย โหติฯ
สูตรนี้ตัดบทเป็น อิตฺถิยํ + อโต + อา. ความหมายคือ อาปัจจัย ย่อมลง ในอิตถีลิงค์ ท้ายนามศัพท์ที่เป็นอการันต์.

ครั้งที่ ๑๔ นามกัณฑ์ : วิภัตติราสิ

๒. นามกณฺฑ
วิภตฺติราสิ
๒. นามกัณฑ์
กลุ่มสาระเกี่ยวกับวิภัตติ

อถ ลิงฺคมฺหา สฺยาทิวิภตฺติวิธานํ ทีปิยเตฯ
ต่อจากสนธิกัณฑ์ จะแสดงการใช้วิภัตติมีสิเป็นต้นลงท้ายนามศัพท์.

ลิงฺคํ, นามํ, ปาฏิปทิกนฺติ อตฺถโต เอกํ, ทพฺพาภิธานสฺส ปุริสาทิกสฺส ปกติรูปสฺเสตํ นามํฯ ตญฺหิ สตฺตนฺนํ วิภตฺตีนํ วเสน วิภาคํ ปตฺวา กิญฺจิ วิสทรูปํ โหติ, กิญฺจิ อวิสทรูปํ, กิญฺจิ มชฺฌิมรูปนฺติ เอวํ ติวิเธน ลิงฺครูเปน ยุตฺตตฺตา ลิงฺคนฺติ วุจฺจติฯ
(ลำดับแรกที่ควรทราบ) คำว่า ลิงคะ ก็ดี นาม ก็ดี ปาฏิปทิกะ ก็ดี ต่างก็เป็นศัพท์ชนิดเดียวกัน โดยที่มีความหมายเหมือนกัน คือ เป็นชื่อของปกติรูป (ศัพท์เดิมที่ยังไม่ได้ลงวิภัตติ) ที่ใช้กล่าวถึงสิ่งของ.
แต่ปกติรูปเหล่านั้น ครั้นจำแนกโดยวิภัตติ ๗ เหตุที่ประกอบด้วยรูปแบบ ๓ ประเภท คือ บางพวกมีรูปที่รู้ได้ง่าย, บางรูปรู้ได้ยาก บางรูปมีลักษณะกลางๆ [๑]จึงเรียกว่า “ลิงคะ”

ครั้งที่ ๑๓ สนธิกัณฑ์ สนธิวิธาน ทวิภาวราสิ วิปัลลาสสนธิ จนสนธิกัณฑ์

ทฺวิภาวสนฺธิ

ทวิภาวสนธิ
อาคมสนธิ คือ วิธีการเชื่อมบทโดยซ้อนอักษร

อถ ทฺวิภาวสนฺธิ ทีปิยเตฯ
ข้าพเจ้าจะแสดงทวิภาวสนธิ คือ การเชื่อมบทโดยการทำอักษร ๒ สองตัว (ซ้อน) สืบไป

ทฺวิภาโว ติวิโธฯ ตตฺถ ปกฺกโม, ปรกฺกโม อิจฺจาทิ พฺยญฺชนทฺวิตฺตํ นามฯ รุกฺขํ รุกฺขํ สิญฺจติ อิจฺจาทิ วิภตฺยนฺตปททฺวิตฺตํ นามฯ ติติกฺขา, ติกิจฺฉา, ชคมา, ชคมุ อิจฺจาทิ ธาตุปททฺวิตฺตํ นามฯ
ทวิภาวะ (การซ้อน) มี ๓ ชนิด.
๑. ซ้อนพยัญชนะ เช่น
ปกฺกโม พากเพียร
ปรกฺกโม บากบั่น.
๒. ซ้อนบทที่มีวิภัตติเป็นที่สุด (ลงวิภัตติแล้ว) เช่น
รุกฺขํ รุกฺขํ สิญฺจติ
รดน้ำต้นไม้ทุกต้น.
๓. ซ้อนพยัญชนะต้นธาตุ เช่น
ติติกฺขา ความอดกลั้น
ติกิจฺฉา ความรักษา
ชคมา เขาไปแล้ว
ชคมุ เขาไปแล้ว