วันพฤหัสบดีที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2559

ว อาคม (แยก)

โว
ว เป็นพยัญชนอาคม

ทุวงฺคุลํ, ทุวงฺคิกํ, ติวงฺคุลํ, ติวงฺคิกํ, ปาคุญฺญวุชุตา, วุสิตํ, วุตฺตํ, วุจฺจเต, อาสนา วุฏฺฐาติ[1], วุฏฺฐานํ, วุฏฺฐหิตฺวา,

ตัวอย่าง

ปท
ปทจฺเฉท
คำแปลและอธิบายสังเขป
ทุวงฺคุลํ,
ทุ + องฺคุลํ
สองนิ้ว
ทุวงฺคิกํ,
ทุ + องฺคิกํ
มีองค์สอง
ติวงฺคุลํ,
ติ + องฺคุลํ
สามนิ้ว
ติวงฺคิกํ,
ติ + องฺคิกํ
มีองค์สาม
ปาคุญฺญวุชุตา,
ปาคุญฺญ + อุชุตา
ความคล่องแคล่วและความซื่อตรง
วุสิตํ,
อุสิตํ (อุ + สี + ต)
อยู่แล้ว
วุตฺตํ,
อุตฺตํ (อุ กล่าว + ต)
กล่าวแล้ว
วุจฺจเต,
อุจฺจเต (อุจ + ย + ต)
อันเขาย่อมกล่าว
อาสนา วุฏฺฐาติ
อาสนา อุฏฺฐาติ
ลุกขึ้นจากอาสนะ
วุฏฺฐานํ,
อุฏฺฐานํ
การออก
วุฏฺฐหิตฺวา,
อุฏฺฐหิตฺวา
ออกแล้ว

ภิกฺขุวาสเน, ปุถุวาสเน, สยมฺภุวาสเน อิจฺจาทีนิ อุวณฺณนฺตรูปานิ วาคเมนาปิ สิชฺฌนฺติเยวฯ
อุทาหรณ์ในอุวัณณันตะ (อุ - อู การันต์) ย่อมสำเร็จแม้ด้วยการลงวอาคมเหมือนกัน เช่น

ปท
ปทจฺเฉท
คำแปลและอธิบายสังเขป
ภิกฺขุวาสเน,
ภิกฺขุ + อาสเน
บนอาสนะของภิกษุ
ปุถุวาสเน,
ปุถุ + อาสเน
บนอาสนะใหญ่
สยมฺภุวาสเน
สยมฺภู + อาสเน
บนอาสนะของพระสยัมภู (พระพุทธเจ้า)





[1] [ปาจิ. ๕๔๗]

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น