มหาวุตฺติวิธานมุจฺจเตฯ
จะกล่าวถึงวิธีการสำเร็จรูปด้วยมหาสูตร
ในเพราะสระหลัง
ลง ส เป็นอาคมท้าย มนศัพท์เป็นต้น
มนสิกาโร, มานสิโก, เจตสิโก, อพฺยคฺคมนโส
นโร[1],ปุตฺโต ชาโต อเจตโส,อุเร ภโว โอรโส อิจฺจาทิฯ
ปท
|
ปทจฺเฉท
|
คำแปลและอธิบายสังเขป
|
มนสิกาโร
|
มน + ส + อิ (สฺมิํ
วิภัตติ) + กาโร
|
กระทำไว้ในใจ
|
มานสิโก
|
มน + ณิก = มาน + ส + อิก
|
ธรรมอันมีในใจ
|
เจตสิโก
|
เจต + ส + ณิก = เจตสิก
|
ธรรมมีในจิต
|
อพฺยคฺคมนโส นโร
|
อพฺยคฺคมน + ส + โอ
(สิวิภัตติ)
|
มีจิตปราศจากความลังเลสงสัย
|
ปุตฺโต ชาโต อเจตโส
|
อเจต + ส + โอ (สิวิภัตติ))
|
พระราชบุตรเป็นเหมือนกับคนไม่มีจิต
|
อุเร ภโว โอรโส
|
อุร + ณ + ส + โอ
(สิวิภัตติ)
|
บุตรผู้มีในอุระ ชื่อว่า โอรส
|
สเร
ปเร พหุลํ หาคโม –
เพราะสระหลัง
ห เป็นอาคมโดยส่วนมาก เช่น
มาเหวํ
อานนฺท[2], โนเหตํ ภนฺเต[3], โนหิทํ โภ โคตม[4], นเหวํ วตฺตพฺเพ[5], เหวํ วตฺตพฺเพ, เหวํ วทติ, อุชู
จ สุหุชูจ[6],
สุหุฏฺฐิตํ สุขโณ อิจฺจาทิฯ
ตัวอย่าง
ปท
|
ปทจฺเฉท
|
คำแปลและอธิบายสังเขป
|
มาเหวํ อานนฺท
|
มา + ห + เอวํ
|
ดูก่อนอานนท์
เธออย่ากล่าวอย่างนี้
|
โนเหตํ ภนฺเต
|
โน + เอตํ + ภนฺเต
|
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ
ไม่เป็นอย่างนั้น
|
โนหิทํ โภ โคตม
|
โน + ห +อิทํ โภ โคตม
|
ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ
ไม่เป็นอย่างนี้
|
น เหวํ วตฺตพฺเพ
|
น + ห + เอวํ วตฺตพฺเพ
|
ไม่พึงกล่าวอย่างนี้
|
เหวํ วตฺตพฺเพ
|
ห + เอวํ วตฺตพฺเพ
|
พึงกล่าวอย่างนี้
|
เหวํ วทติ
|
ห + เอวํ วทติ
|
ย่อมกล่าวอย่างนี้
|
อุชู จ สุหุชูจ
|
อุชู จ สุ + ห + อุชู จ
|
ตรงด้วย ตรงด้วยดี ด้วย
|
สุหุฏฺฐิตํ สุขโณ
|
สุ + ห + อุฏฺฐิตํ สุขโณ
|
การลุกขึ้นด้วยดี, ขณะที่ดี
|
อิติ
พฺยญฺชนาคมราสิฯ
กลุ่มพยัญชนอาคม
ดังข้าพเจ้าแสดงมาอย่างนี้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น