ทฺวิภาวสนฺธิ
ทวิภาวสนธิ
อาคมสนธิ คือ
วิธีการเชื่อมบทโดยซ้อนอักษร
อถ
ทฺวิภาวสนฺธิ ทีปิยเตฯ
ทฺวิภาโว
ติวิโธฯ ตตฺถ ปกฺกโม, ปรกฺกโม อิจฺจาทิ พฺยญฺชนทฺวิตฺตํ
นามฯ รุกฺขํ รุกฺขํ สิญฺจติ อิจฺจาทิ วิภตฺยนฺตปททฺวิตฺตํ นามฯ ติติกฺขา,
ติกิจฺฉา, ชคมา, ชคมุ อิจฺจาทิ
ธาตุปททฺวิตฺตํ นามฯ
ทวิภาวะ
(การซ้อน) มี ๓ ชนิด.
๑. ซ้อนพยัญชนะ
เช่น
ปกฺกโม พากเพียร
ปรกฺกโม
บากบั่น.
๒. ซ้อนบทที่มีวิภัตติเป็นที่สุด
(ลงวิภัตติแล้ว) เช่น
รุกฺขํ รุกฺขํ สิญฺจติ
รดน้ำต้นไม้ทุกต้น.
๓. ซ้อนพยัญชนะต้นธาตุ
เช่น
ติติกฺขา
ความอดกลั้น
ติกิจฺฉา
ความรักษา
ชคมา เขาไปแล้ว
ชคมุ เขาไปแล้ว
(การซ้อนพยัญชนะ)
เบื้องหลังจากสระ
ซ้อนพยัญชนะได้บ้าง
สรมฺหา
ปรสฺส พฺยญฺชนสฺส กฺวจิ ทฺเว รูปานิ โหนฺติฯ
ในบางแห่ง
พยัญชนะที่อยู่ข้างหลังสระ เป็นพยัญชนะสองตัว.
ตตฺถ
สรมฺหา ป,
ปติ, ปฏีนํ ปสฺส ทฺวิตฺตํ –
อปฺปมาโท, อิธปฺปมาโท, วิปฺปยุตฺโต, สมฺมปฺปธานํ,
อปฺปติวตฺติยํ ธมฺมจกฺกํ[2], สุปฺปติฏฺฐิโต, อปฺปฏิปุคฺคโล, วิปฺปฏิสาโร, สุปฺปฏิปนฺโน อิจฺจาทิฯ
บรรดาการซ้อนพยัญชนะเหล่านั้น
ซ้อน ป ของ ป ปติ และ ปฏิ อุปสัคค ที่อยู่หลังสระ เช่น
อปฺปมาโท ความไม่ประมาท
อิธปฺปมาโท ความไม่ประมาทในธรรมนี้
วิปฺปยุตฺโต ไม่ประกอบ
สมฺมปฺปธานํ ความเพียรชอบ
อปฺปติวตฺติยํ
ธมฺมจกฺกํ ธรรมจักร อันใครๆไม่ให้เป็นไป
สุปฺปติฏฺฐิโต ตั้งไว้ดีแล้ว
อปฺปฏิปุคฺคโล บุคคลผู้มีคนเปรียบหามิได้
วิปฺปฏิสาโร ความเดือดร้อน
สุปฺปฏิปนฺโน ผู้ปฏิบัติดี
สรมฺหาติ
กิํ?
สมฺปยุตฺโตฯ
คำว่า สรมฺหา
หลังจากสระ กล่าวไว้ทำไม.
เพื่อปฏิเสธการซ้อน
ถ้าไม่อยู่หลังจากสระ เช่น
สมฺปยุตฺโต ประกอบ
********************
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น