วันจันทร์ที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2559

ส และ ห อาคม (แยก)

มหาวุตฺติวิธานมุจฺจเตฯ
จะกล่าวถึงวิธีการสำเร็จรูปด้วยมหาสูตร

สเร ปเร มนาทีหิ สาคโม
ในเพราะสระหลัง ลง ส เป็นอาคมท้าย มนศัพท์เป็นต้น

มนสิกาโร, มานสิโก, เจตสิโก, อพฺยคฺคมนโส นโร[1],ปุตฺโต ชาโต อเจตโส,อุเร ภโว โอรโส อิจฺจาทิฯ
ตัวอย่าง เช่น

วันพฤหัสบดีที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2559

ฬ อาคม (แยก)

๕๑. ฉา โฬ
สเร ปเร ฉมฺหา ฬาคโม โหติฯ
๕๑. ฉา โฬ
เพราะมีสระหลัง ลง ฬ เป็นอักษรอาคม ท้าย ฉ
ในเพราะสระอันเป็นเบื้องหลัง ลง ฬ อาคมท้าย ฉ.

ฉฬงฺคํ, ฉฬายตนํ, ฉฬาสีติสหสฺสานิ[1], อตฺถสฺส ทฺวารา ปมุขา ฉเฬเต[2], ฉเฬวานุสยา โหนฺติ[3], ฉฬภิญฺญา มหิทฺธิกา [4]
ตัวอย่าง

ปท
ปทจฺเฉท
คำแปลและอธิบายสังเขป
ฉฬงฺคํ,
ฉ + องฺคํ
มีองค์ ๖
ฉฬายตนํ,
ฉ + อายตนํ
อายตนะ ๖
ฉฬาสีติสหสฺสานิ,
ฉ + อสีติสหสฺสานิ
แปดหมื่นหกพัน
อตฺถสฺส ทฺวารา ปมุขา ฉเฬเต,
ฉ + เอเต
อุบายยอดเยี่ยม ๖ ประการเพื่อบรรลุประโยชน์
ฉเฬวานุสยา โหนฺติ,
ฉ + เอว
อนุสัยท. ๖ นั่นเทียว ย่อมมี
ฉฬภิญฺญา มหิทฺธิกา
ฉ + อภิญฺญา
เป็นผู้มีอภิญญา ๖ มีฤทธิ์มาก



[1] [เป. ว. ๓๗๔]
[2] [ชา. ๑.๑.๘๔]
[3] [อภิธมฺมตฺถสงฺคห]
[4] [พุ. วํ. ๓.๕]

วันพฤหัสบดีที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2559

ว อาคม (แยก)

โว
ว เป็นพยัญชนอาคม

ทุวงฺคุลํ, ทุวงฺคิกํ, ติวงฺคุลํ, ติวงฺคิกํ, ปาคุญฺญวุชุตา, วุสิตํ, วุตฺตํ, วุจฺจเต, อาสนา วุฏฺฐาติ[1], วุฏฺฐานํ, วุฏฺฐหิตฺวา,

ตัวอย่าง

ปท
ปทจฺเฉท
คำแปลและอธิบายสังเขป
ทุวงฺคุลํ,
ทุ + องฺคุลํ
สองนิ้ว
ทุวงฺคิกํ,
ทุ + องฺคิกํ
มีองค์สอง
ติวงฺคุลํ,
ติ + องฺคุลํ
สามนิ้ว
ติวงฺคิกํ,
ติ + องฺคิกํ
มีองค์สาม
ปาคุญฺญวุชุตา,
ปาคุญฺญ + อุชุตา
ความคล่องแคล่วและความซื่อตรง
วุสิตํ,
อุสิตํ (อุ + สี + ต)
อยู่แล้ว
วุตฺตํ,
อุตฺตํ (อุ กล่าว + ต)
กล่าวแล้ว
วุจฺจเต,
อุจฺจเต (อุจ + ย + ต)
อันเขาย่อมกล่าว
อาสนา วุฏฺฐาติ
อาสนา อุฏฺฐาติ
ลุกขึ้นจากอาสนะ
วุฏฺฐานํ,
อุฏฺฐานํ
การออก
วุฏฺฐหิตฺวา,
อุฏฺฐหิตฺวา
ออกแล้ว

ภิกฺขุวาสเน, ปุถุวาสเน, สยมฺภุวาสเน อิจฺจาทีนิ อุวณฺณนฺตรูปานิ วาคเมนาปิ สิชฺฌนฺติเยวฯ
อุทาหรณ์ในอุวัณณันตะ (อุ - อู การันต์) ย่อมสำเร็จแม้ด้วยการลงวอาคมเหมือนกัน เช่น

ปท
ปทจฺเฉท
คำแปลและอธิบายสังเขป
ภิกฺขุวาสเน,
ภิกฺขุ + อาสเน
บนอาสนะของภิกษุ
ปุถุวาสเน,
ปุถุ + อาสเน
บนอาสนะใหญ่
สยมฺภุวาสเน
สยมฺภู + อาสเน
บนอาสนะของพระสยัมภู (พระพุทธเจ้า)





[1] [ปาจิ. ๕๔๗]

วันพุธที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2559

ร อาคม (แยก)

โร
ร เป็น อาคม

นิรนฺตรํ, นิรตฺถกํ, นิราหาโร, นิราพาโธ, นิราลโย, นิรินฺธโน อคฺคิ, นิรีหกํ, นิรุทกํ, นิรุตฺติ, นิรุตฺตโร, นิรูมิกา นที, นิโรชํ, ทุรติกฺกโม, ทุรภิสมฺภโว, ทุราสทา พุทฺธา[1], ทุราขฺยาโต ธมฺโม[2], ทุราคตํ, ทุรุตฺตํ วจนํ[3], ปาตุรโหสิ[4], ปาตุรหุ[5], ปาตุรเหสุํ[6], ปาตราโส, ปุนเรติ, ธีรตฺถุ[7], จตุรงฺคิกํ ฌานํ[8], จตุรารกฺขา, จตุราสีติสหสฺสานิ, จตุริทฺธิลาโภ, จตุโรฆา, วุทฺธิเรสา[9], ปถวีธาตุเรเวสา[10], อาโปธาตุเรเวสา[11], สพฺภิเรว สมาเสถ, นกฺขตฺตราชาริว ตารกานํ, วิชฺชุริว อพฺภกูเฏ, อารคฺเคริว, อุสโภริว[12],